จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ-จำหน่ายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-จำหน่าย และพิมพ์หนังสือธรรมะและบทสวดมนต์ราคาโรงพิมพ์ธรรมทาน-จำหน่ายพระพุทธรูป หิ้งพระ และของตกแต่งห้องพระ จัดส่งทั่วประเทศและต่างประเทศ ................................................
/music/.mp3 http://www.trilakbooks.com
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

หน้าแรก

รายชื่อหนังสือ

พระพุทธรูป

TIKTOK เฟอร์นิเจอร์

LOAD

กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น-พิมพ์100เล่มขึ้นไปแทรกข้อความขาวดำฟรี1หน้า

พิมพ์หนังสือธรรมะ,พิมพ์หนังสือสวดมนต์,หนังสือที่ระลึก

คัมภีร์ปาฏิโมกข์-แผ่นพับทุกแบบ

งานพุทธศิลป์-อุปกรณ์ตกแต่งภายใน

หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก

สาระ-หนังสือพระไตรปิฎก-ฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

หนังสือพระไตรปิฎก-ที่มีความสำคัญไม่แพ้กันกับ-หนังสือพระไตรปิฎกฉบับเต็ม

อานิสงส์ของการฟังธรรม5ประการ

การสังคายนาเป็นเหตุให้เกิดพระไตรปิฎก

การสวดปาฏิโมกข์คืออะไร

พระวินัยของสงฆ์ในหนังสือพระไตรปิฎก

พุทธประวัติ ในยุคต้นๆ ในพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก

อรรถกถา คืออะไร มีความสัมพันธ์กับ พระไตรปิฎกอย่างไร

หนังสือพระไตรปิฎก และ หนังสือพุทธธรรม มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

พระไตรปิฎก เป็นฐานของสรรพวิชา 6 แขนง

พระไตรปิฎก หมายถึงอะไร แนวทางการศึกษาพระไตรปิฎก ขอบเขตความรู้ในพระไตรปิฎก

เคล็ดลับอายุยืนจากพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎกของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย..เป็นอย่างไร?

พระไตรปิฎกคืออะไร

ความสำคัญและการรักษาพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎก

สาระดี

บัณฑิต ตามพุทธวิธี ความสัมพันธ์กับพระไตรปิฎก

พระผู้ทรงมหากรุณา ไม่มีสิ้นสุด คือ พระปัญญาญาณ ของ พระพุทธเจ้า

ประวัติ-องค์ท้าวเวสสุวรรณ-และการบูชา

อุปสรรคที่สำคัญในชีวิตThe-important-obstacle-in-life

รวมเรื่อง ในหนังสือคู่มือมนุษย์ ของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

การจัดห้องพระตามความเหมาะสมและถูกต้อง

การสวดปาฏิโมกข์ต่างจากการสังคายนาอย่างไร?

7 ภาพวาด ที่บอกเล่าเรื่องราว ครั้งสำคัญประวัติศาสตร์ ของพระพุทธศาสนา

ความซับซ้อนของกรรม : โดยสมเด็จพระสังฆราชฯ

คาถาชะลอวัย-ที่พระพุทธเจ้าทรงได้เคยประทานไว้

ให้ทานอย่างไร-จึงจะได้ทำบุญอย่างสมบูรณ์-ป.อ.ปยุตฺโต

เด็กชายวัย 8 ขวบ ปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อใช้จ่ายค่าเทอม

กฎการรักษาความสัมพันธ์ทั้ง๖ทิศเพื่อชีวิตที่เจริญรุ่งเรือง

สิ่งที่จะป้องกันเรา-จากความตาย

ถาม-ตอบ (หลวงปู่มั่น) ตอน เวลาคน เราเวลาไข้หนักใกล้จะตาย?

แพทย์ศิริราช ออกแถลงการณ์ด่วน หลวงพ่อจรัญ’ มรณภาพแล้ว

พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า?

สหายของนางวิสาขา

ควรทำงานอย่างไร

พระพุทธศาสนาเป็นแหล่งสำคัญที่หล่อหลอมเอกลักษณ์ของชาติไทย

สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

การรักษาศีล,สมเด็จพระญาณสังวร

เรื่อง...ขายบัตรเบิกทางไปสวรรค์

ศรัทธากับกฏแห่งกรรม-โดยหลวงพ่อจรัญ

ความหมายของ-บุญ-บาป-จากหนังสือพุทธธรรม

ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม

เกร็ดความรู้ เรื่อง เหตุให้ไปสุคติและทุคติ

อะไรทำให้-ปราชิก?-จากหนังสือ-นวโกวาท-หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี

อานิสงส์ของศีล-5ประการ

ประวัติความเป็นมา ของพระอวโลกิเตศวรในคัมภีร์ฝ่ายมหายาน

การปฏิบัติภาวนา-ในพระไตรลักษณ์-อนิจจัง-ทุกขัง-อนัตตา

วิธีการทำงาน-ให้เป็นการปฏิบัติธรรม

หาความสุขได้จากสิ่งที่เป็นทุกข์ โดย หลวงพ่อพุทธทาส

ประวัติพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ (โดย ท่านพระอาจารย์มหาบัว ญาณสัมปันโน)

MP3-อย่าสร้างนิสัยทางออกให้กิเลส

104ธรรมะสำหรับคนเจ็บไข้

ธรรมบรรยาย ของหลวงพ่อพุทธทาส เรื่อง/ไฟล์ สวรรค์ในหน้าที่การงาน.mp3

สิ่งที่มีคุณอนันติ์ก็มีโทษมหันต์ได้

สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงเคารพ-โดยหลวงพ่อพุทธทาส

กรณีพระธรรมกาย บทเรียน เพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสร้างสรรสังคมไทย โดย พระพรหมคุณาภร ป.อ.ปยุตฺโต

เหตุผล 5 ประการ ที่ควร กินอาหารให้ช้าลง

นาฬิกาชีวิต

7-ลักษณะนิสัยเศรษฐี

โหลด/ฟังMP3-กาลามสูตร-หลักความเชื่อ-10-ประการ

ฟัง-MP3-ระวังอย่าให้โง่เท่าเดิม-โดย-หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

โหลด MP3 - ความดับไม่เหลือ-โดย-หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ประโยชน์ของแตงกวา

ไข่เจียวผัก-อร่อยๆ-ใส่ผักอะไรได้บ้าง

การเสียสละเป็นพื้นฐาน สำหรับโพธิสัตว์

ความริษยา เครื่องทำลายโลก

ทาน ติดตามเจ้าของทานไปตลอด

สติ กับความเพียรช

กินผักผลไม้ต้านมะเร็งได้

ลาบเจ

ผัดฉ่าปลาหมึกและกุ้ง

ต้มข่าไก่เจ

ผลไม้ที่ควรกินเป็นประจำ

มะเขือยาวลดกระ-ด่างดำ-และอื่นๆ

ชาเก็กฮวยอาหารที่ช่วยเพิ่มEQ

น้ำตาลกับความแก่

ประโยชน์ของมะเขือเทศ

ืืทำไมใครๆจึงหันมากินมังสวิรัติ

ตู้พระไตรปิฎกสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกฉบับ45เล่มภาษาไทย 45เล่มบาลี 100เล่ม ส.ธรรมภักดี

จำหน่ายเบาะนั่งสมาธิ-อาสนะ-และที่นั่งสำหรับปฏิบัติธรรม-สำหรับพระภิกษุและฆราวาส

ดาวน์โหลด-MP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-5-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลด-MP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่4-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-3-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-2-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-1-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-ท่องนรกกับพระมาลัย-ม้วน-2-หน้า-A-โดยคุณ สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3ท่องนรกกับพระมาลัยม้วน1หน้า-B-โดยคุณสนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3ท่องนรกกับพระมาลัย ม้วน 2 หน้า B - โดยคุณ สนธิชัย ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลด MP3 ท่องนรกกับพระมาลัย ม้วน 1 หน้า A - โดยคุณ สนธิชัย ทวีโชคทรัพย์สิน

เบาะรองนั่ง-เบาะทำ(ธรรม)สมาธิ-รุ่นBASIC

เบาะรองนั่ง-เบาะทำ(ธรรม)สมาธิ-รุ่นCOMFORT

อานิสงส์-แห่งการประกอบกรรมดีในลักษณะต่างๆ

ออกใหม่-คำบรรยายในพระไตรปิฎก-โดย-ศาสตราจารย์พิเศษเสฐียรพงษ์วรรณปกราชบัณฑิต

พระพุทธเจ้าทรงสอนอะไร

สามารถดาวน์โหลด บทแผ่เมตตา พร้อมคำแปลไทย ในรูปแบบ MP3-และตายแล้วไปไหน

เชิญชวนศึกษาพระไตรปิฎก

การสวดมนต์ช่วยให้พ้นนรกได้อย่างไร

อัศจรรย์ไฟไหม้หอสมุดวัดพนัญเชิงตู้ไตรปิฎกโบราณรอดปาฎิหารย์

การเผยแพร่หนังสือธรรมะเป็นทาน

อานิสงส์แห่งการชักชวนผู้อื่นถวายทาน

คัมภีร์อุปปาตะสันติ เป็นวรรณกรรมภาษาบาลีของล้านนาไทย

เหตุไรบางคนระลึกชาติได้ บางคนระลึกไม่ได้ ?

มีสติกับเทคโนโลยี โดย ท่านพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล

อานิสงส์สร้างหนังสือพระไตรปิฎก,และการถวายหนังสือพระไตรปิฎก

เสียงธรรม : ธรรมะมีลำดับ โดยท่านพระพรหมคุณาภรณ์

คู่มือมนุษย์ เรื่องงที่ ๗ การทำให้รู้แจ้งตามวิธะรรมชาติ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๖ คนเราติดอะไร (เบญจขันธ์)

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๕ ขั้นตอนการปฏิบัติ ศาสนา (ไตรสิกขา) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

วิธีการเจริญสติในชีวิตประจำวัน

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๔ อำนาจของความยึดติด (อุปาทาน) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๓ ลักษณะสามัญของสิ่งทั้งปวง (ไตรลักษณ์) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๒ พุทธศาสนา มุ่งชี้อะไร เป็นอะไร (โดยหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ)

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๑ ท่านชอบพุทธศาสนาในเหลี่ยมไหน

ยิ่งให้ยิ่งได้ บทความธรรมะจากหนังสือธรรมะเรื่อง ยิ่งให้ยิ่งได้

ภาพภายในศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

แม่ไม่รัก... เรื่อง โดย แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต

ีรีวิว.พระพุทธรูปหล่อเลซินปางพระพุทธเจ้าชนะมารจากศูนย์หนังสือไตรลักษณ์

บททดสอบใจ และเตือนใจให้นึกถึงความจริง(ความตาย)

ปฏิบัติต่อบุรพการีโดยทำหน้าที่ให้ถูกต้อง-จากหนังสือความจริงแห่งชีวิต-พระพรหมคุณาภรณ์(ป. อ. ปยุตฺโต)

การปล่อยวาง (Letting Go)

แนะใช้สมุนไพร รสฝาด รักษาโรคน้ำกัดเท้า และโรคเบาหวาน ฯลฯ

เรื่อง การสั่งซื้อหนังสือ และผลิตภัณฑ์ จากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

ไม้นวดและไม้กดจุดเพื่อสุขภาพ และการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

โรคหลอดเลือดแข็ง-กลไกการเกื้อหนุนการเกิดพยาธิสภาพ(จาก..หนังสือรู้สู้โรค)

หนังสือพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลโดยมหามกุฎราชวิทยาลัย และตู้พระไตรปิฎกไม้สัก เผยแพร่โดยไตรลักษณ์ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา www.trilakbooks.com โทร.02-482-7358,086-461-8505,081-424-0781

มนุษย์ประเสริฐ-เพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้-จาก-จาริกบุญจารึกธรรม-จาริกนมัสการและแสดงธรรมกถา ณ สังเวชนียสถาน

หนังสือพระไตรปิฎกฉบับแปลไทยจำนวน45เล่มของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและตู้พระไตรปิฎกไม้สักสีน้ำตาลอ่อนและน้ำตาลเข้มพร้อมทั้งตู้พระไตรปิฎกลงทองคำเปลวติดกระจกสีสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก

...ข้อคิดดีๆ..(ช่วย)รักษาใจให้มีความสุข...

ดาวน์โหลดแผนที่การเดินทางมายังศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

"ถูกชมก็ธรรมดา ถูกด่าก็เฉยๆ"

จัดพิมพ์ส่วนเพิ่มรายชื่อในหนังสือพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎกจากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจำนวน 45 เล่ม

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักสีดำงานพุทธศิลป์จากจังหวัดตาก

ตู้พระไตรปิฎกปิดทองคำเปลวลงกระจกศิลปะดั้งเดิมของงานพุทธศิลป์

ตู้หนังสือพระไตรปิฎก ปิดทองคำเปลว และตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก ศิลปะจากจังหวัดตาก จากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา

ปณิธานของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน

ยิ่งนอนดึก ยิ่งเร่งวันตายเร็ว

NEW-ZONE ศูนย์หนังสือฯ กลางป่า หนีเมืองกรุง

NEW ZONE ไตรลักษณ์ ศูนย์หนังสือ เปิด โซนหนังสือใหม่ เอาใจคอหนังสือธรรมะและหนังสือเพื่อสุขภาพ

เจ้าชู้หลายใจ ต้องชดใช้กรรม

10 เหตุผลดีๆ ที่จะไม่กินเนื้อสัตว์

ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ให้อะไรมากกว่าที่คุณคิด

รีวิว ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา - ร้านหนังสือธรรมะ ที่ร่มรื่นที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ

"เปลี่ยนอาการอกหัก หันมารักนิพพานแทน"

6 พิษอันตรายของผงชูรส

มจร. ถวายดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่ท่านชยสาโรภิกขุ

เมื่อจิตหดหู่เราควรเจริญธรรมข้อใด

คงไม่มีพระพุทธศาสนา ถ้าไม่มีพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ตะลึง!!10ขวบตายแล้วฟื้น

5เหตุผลหลักที่ต้องเลือกศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

อย่าหูเบา

ความหมายและที่มาของ : อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ : ตนเป็นที่พึ่งของตน

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎก ทั้ง 45 เล่ม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ส่งตรงจาก มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความสุข 5 ชั้น พระธรรมเทศนา โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตฺโต

พระพุทธศาสนา มีความมุ่งหมายอย่างไร โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ความสุข อยู่แค่ ที่ ปลายจมูก โดยท่าน ไพศาล วิสาโล

มรณานุสติ พิจารณาถึงความตาย โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

การตอบแทนพระคุณของแม่ โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

ท่านได้อะไรเมื่อไปงานศพ

ชีวิตนี้สำคัญที่ใจ โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

“ความกตัญญูกตเวที” (สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก)

พ่อแม่นั้นทำทุกอย่างเพื่อลูกด้วยความรัก

นิทานยอดกตัญญูจีน เรื่อง เลือกแต่ของดีๆ ไปให้แม่

นิทานยอดกตัญญูจีน เรื่อง ตามใจพ่อแม่

ร่วมสนับสนุนหนังสือธรรมะจาก หนังสือคลังธรรมทาน

บริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะแด่ท่านผู้ใจบุญ

ฟ้าดินให้ความสำคัญกับ “ความกตัญญู” เป็นอันดับแรก

บริการจัดทำหนังสือธรรมะเป็นธรรมทาน ในราคาพิเศษสุด บริการจัดส่ง ทั่วประเทศ

ใครจะพูดสรรเสริญเรา นินทาเรา หรือว่ากล่าวตักเตือนเรา เราต้องฟังได้ จึงจะเป็นคนดี เป็นคนซื่อสัตย์สุจริต อันนี้เราต้องพิจารณาดูว่า เรามีลักษณะอย่างนี้หรือไม่

ตัวตน แห่งที่มาของความเห็นแก่ตัว

สุภาษิต และคำพังเพย ให้ชวนคิด ของท่านพุทธทาส

โทษ และภัยของบุหรี่

ธรรมะดีดีจากหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

พระไตรปิฎกนั้นคืออะไร

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้และหนังสือพระไตรปิฎกมจร.พุทธศาสนิกชนผู้ใจบุญ และผู้ประสงค์จะร่วมสร้างบุญกุศลด้วยตู้พระไตรปิฎก

เมื่อเราป่วยและรักษาไม่หาย

กลอน พุทธทาส จักอยู่ไปไม่มีตาย โดย พระธรรมโกศาจารย์ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

วิธีฝึกจิต โดยหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือแสดงหลักธรรม ฉบับสมบูรณ์

อะไรภาษาคน-อะไรภาษาธรรม

คนทั่วไปมองครูอย่างไร ?

พอใจ กับ ไม่พอใจ ดีใจ กับเสียใจ ก็ทุกข์พอกัน

อย่าอวดดี ว่าเราเห็น จากหนังสือเรื่องความลับของชีวิตของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

โรคทางจิตวิญญาณ สำคัญ และเป็นกันมาก...แค่ไหน

ธรรมปฏิสันถาร คืออะไร

ระบบอานาปานสติจากผลงานหนังสือธรรมะของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

หัวข้อธรรมในคำกลอน กลอนธรรมะจากสุดยอดผลงานหนังสือของ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

บทความธรรมะเรื่อง "การศึกษา" คือสิ่งที่ทำความก้าวหน้าอย่างถูกต้อง

เนื้อหาธรรมะในการดำเนินชีวิตเรื่อง หน้าที่ของเรา

โรคร้ายหายได้ด้วยการสวดมนต์

ยินดีที่จะเสี่ยง เมื่อศัลยแพทย์คนนี้ตัดสินใจมาขายรองเท้าเธอกลัวที่จะเสียใจที่ไม่ได้ทำมากกว่าความล้มเหลว โดย มาเรีย บาร์ติโรโมท

เนื้อหาสาระในบทธรรมะจากหนังสือธรรมะ การงานคือตัวการปฏิบัติธรรม โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ตัวตนที่แท้จริง,ใช่หรือไม่ใช่

TIP อย่าเห็นสิ่งใด ประเสริฐกว่าธรรม

TIP ชีวิตที่ดีที่สุด

เจท ลี ฮีโร่นอกจอ ทั้งในภาพยนต์และในชีวิตจริงชีวิตจริงก็คือธรรมะ

ธรรมศาสตราจะมีได้ต่อเมื่อมีการปฏิบัติเท่านั้น

ทำความรู้จักกับคำว่า อตัมมยตาประยุกต์กัน

ทำความเข้าใจกับคำว่าพรหมจรรย์

พระไตรปิฎก,สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้,โดยพระพรหมคุณาภรณ์

นิทานซึ้งใจ :ไม้เท้ายอดกตัญญู ลูกๆหลานๆ เด็กและเยาวชนควรอ่าน

สวดมนต์ ทำสมาธิ รักษาโรคได้จริง

การถวายหนังสือธรรมะเป็นทาน,อานิสงส์ของการถวายหนังสือ,คำถวายหนังสือ,คำกรวดน้ำแบบย่อ,คำกรวดน้ำแบบเต็ม

ใช้สมาธิพิชิตมะเร็ง ทำเดี๋ยวนี้เลย!!

ทำอย่างไรจึงจะพ้นกรรม

อาหารรักษามะเร็ง ใช้ ธรรมชาติ รักษาธรรมชาติ

9 วิธี สะสมแต้มเพื่อไป นิพพาน (จาก นิตยสาร ซีเครท เคล็บลับสู่ความสุขและความสำเร็จ)

จริงหรือที่ว่า ผู้ปฏิบัติธรรม ต้องไม่มีความอยาก ตอนที่ ๒

จริงหรือที่ว่า ผู้ปฏบัติธรรม ต้องไม่มีความอยาก ตอนที่ ๑

มหัศจรรย์สมุนไพรไทย 11 ชนิด

วารีบำบัด

วิธีล้างผักสด สูตร บ้านสุขภาพ

อาหารกาย-อาหารใจ ความสัมพันธ์ที่แยกไม่ออก โดย... รศ.พญ.จิรพรรณ

ใช้หนี้กรรมสุนัข แมว พระภาวนาวิสุทธิคุณ กรรมติดจรวด

เปรตหลวงพ่อขำ

การระลึกถึงความตายต้องทำจิตใจให้แยบคาย

ช่วยมารดา พ้น นรก (หลวงปู่จันทา ถาวโร)

คิด อย่างไร จึงจะ ได้ดี และ มีความสุข 12 ข้อคิด เพื่อความสุขความเจริญ

บทความโดยย่อ : ร่ำรวยความสุข

ธรรมะ กับ การทำงาน : รู้หน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ จะมีศักดิ์ ศรีทั้งทางโลก และทางธรรม

สมาธิ ในชีวิตประจำวัน : พระธรรมโกศาจารย์ ประยูร ธมฺมจิตโต

ชีวิตนี้สำคัญที่ใจ : การควบคุมสติปัญญาด้วยตัวเราเอง

เริ่มชีวิตใหม่ได้ความสุข copy_resize

ความรักสัมผัสได้ด้วยใจ

เนื้อหา และข้อความสำคัญของ นรกสวรรค์ท่านเลือกได้

พระไตรปิฎกและถรรถกถาแปล-ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

ศูนย์จัดจำหน่ายพระไตรปิฎก-ขายตู้พระไตรปิฎก หนังสือธรรมะ-การจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก-ของตกแต่งห้องพระ

อนุโมทนาบุญแด่คณะท่านเจ้าภาพผู้ถวาย ตู้และหนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทยชุดใหญ่

ก่อนจัดส่งธรรมาสน์ไม้สักต้องตรวจเช็ค

ศูนย์จำหน่ายของแต่งห้องพระและพระพุทธรูป

อนุโมทนาบุญแด่ท่านแม่ชีและคณะเจ้าภาพผู้ร่วมบุญกันถวายชุดตู้พระไตรปิฎก

ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก ที่ไหนดี

กราบอนุโมทนาบุญแด่คณะเจ้าภาพท่านผู้ถวายพระไตรปิฎก

รวมคลิ๊ป รีวิว ตู้พระไตรปิฎก แบบต่างๆ

ศูนย์จัด ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก และ จัดจำหน่ายตู้พระไตรปิฎกทั่วประเทศ

เลือกซื้อหนังสือพระไตรปิฎก แบบไหนดี ถวายวัด?

กลุ่มรายชื่อหนังสือพระไตรปิฎก แบบมาตรฐานฉบับเต็ม

คำถามที่พบบ่อย เกี่ยวกับ การซื้อพระไตรปิฎก และการจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก

ราคาหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ มหามกุฏราชวิทยาลัยฯ

ศาสนาพุทธไม่ใช่ศาสนาแห่งปรัชญา

ป้ายอลูมิเนียมอย่างดี สีทอง ติด บนตู้พระไตรปิฎก หรือ บนกล่อง-หีบ-บรรจุพระคัมภีร์ต่างๆ ในราคาโรงงาน 700 บาท

กลุ่มหนังสือธรรมะ โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน

VV กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น VV จัดพิมพ์ 100 เล่มขึ้นไป พิมพ์แทรกข้อความฟรี 1 หน้า จัดส่งทั่วประเทศ

ตู้สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก รุ่น ลงรักปิดทอง ราคา 10,900 บาท

หิ้งพระไม้สักหมู่9หน้า9ราคา18500จัดส่งทั่วประเทศ

เบาะรองนั่งสมาธิ-อาสนะ-สำหรับนั่งสมาธิหรือนั่งวิปัสสนากรรมฐานราคา4900บาทสีน้ำตาล

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ทรงป้าน-ทรงA-ออกใหม่สุด-สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก91เล่มราคา15000บาทจัดส่งทั่วประเทศ

พิกัด เส้นทาง การเดินทางมายัง ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนา ไตรลักษณ์

การสั่งพิมพ์หนังสืออุปปาตะสันติ

ตู้สำหรับบรรจุพระไตรปิฎกกลุ่ม45เล่มสีเขียวเข้ม

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลัง-สำหรับ-บรรจุหนังสือพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลจำนวน-91-เล่ม

ตู้บรรจุ-หนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรม-โดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย-โดยศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์-ราคา-5000-บาท

ตู้พระธรรมบรรจุหนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรมโดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การค้นหารายการหนังสือด้วยวิธีการง่ายๆ

ตู้พระไตร-ไม้สักทั้งหลัง-ทรงป้านราคา9900บาท

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลังแกะลวดลายทองประดับกระจกสีสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก45เล่มของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลัง-ทรงตรงมาตรฐานสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก45เล่มของมหาจุฬาฯ

ตู้พระไตรปิฎกสีแดงลวดลายทอง-ใหม่สำหรับพระไตรฯ45เล่ม

ใหม่ล่าสุด-ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลังแกะลวดลายประณีตวิจิตรบรรจงสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก91เล่ม

หลังจากการโอนเงิน-ค่าหนังสือ-หรืออื่นๆแล้วต้องส่งเอกสารแจ้งด้วยหรือไม่

โทรสั่งหนังสือพระไตรปิฎก-จัดส่งทั่วประเทศ

ตัวอย่าง..หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ มหาเถระสมาคม ภาษาไทย 45 เล่ม

การสั่งซื้อหนังสือพระไตรปิฎกและตู้หนังสือพระไตรปิฎกทุกชนิดจำเป็นต้องโทรศัทพ์สั่งโดยตรง

แนะนำ **การเดินทางมายังศูนย์ไตรลักษณ์** เพิ่มเติม จาก ถนนบรมราชชนนี ปิ่นเกล้า มุ่งหน้ามายัง พุทธมณฑลสาย 4

จำหน่ายหนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรมราคา3300บาทโดยศูนย์หนังสือพระไตรปิฎกไตรลักษณ์

ราคาหนังสือพระไตรปิฎกทุกชุดที่เผยแพร่เป็นราคากลาง

เชิญเยี่ยมชม-ด้วยภาพภายในศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ บางส่วน

สั่งซื้อจัดธรรมโฆษณ์ทั้งชุดจากธรรมทานมูลนิธิของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ เผยแพร่โดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ 02-482-7358, 087-696-7771

แนะนำหนังสือที่ใช้แจกเป็นธรรมทาน งานอนุสรณ์ **แจกเนื่องในงานที่ระลึก และเป็นที่นิยมในปัจจุบัน**

ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกจำนวน45เล่มราคา8,500บาท

ตู้พระไตรปิฎกลายทอง-ทรงตรง-ราคา8,500บาท

ตู้พระไตรปิฎกทรงป้าน-ลวดลายทอง

ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ร่วมมอบตู้พระไตรปิฎกให้แก่รายการแฟนพันธุ์แท้

ตัวอย่าง-ส่วนเพิ่มรายชื่อผู้จัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎก

ตู้พระไตรปิฎกสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก

พิมพ์หนังสือธรรมะแจกในงานพิเศษต่างๆ

การจำหน่ายพระไตรปิฎกราคาที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน

บริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ , พิมพ์หนังสือสวดมนต์, หนังสืองานศพ, งานบวช, งานแต่งงาน,

ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อ-สำหรับผู้ถวายหนังสือพระไตรปิฎก

ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-บริการจัดส่งทั่วประเทศและต่างประเทศ

แหล่งบริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะและศูนย์รวมหนังสือธรรมะแบบครบวงจร

ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-หนึ่งในโครงการของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

พระไตรปิฎกแปล๑๐๐เล่ม-ฉบับส.ธรรมภักดี

พระไตรปิฎกภาษาไทย พุทธศักราช 2549 ฉบับเฉลิมพระเกียรติ-โดยมหาเถรสมาคมเผยแพร่

หนังสือขายดี..พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน

หนังสือขายดี..พุทธธรรม..ฉบับปรับปรุงและขยายความ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย..โดยพระพรหมคุณาภรณ์(ปอ.ปยุตฺโต)

แนะนำหนังสือขายดี...พระเจ้า500ชาติฉบับสมบูรณ์อดีตชาติก่อนที่จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้ารวมชาดกจากพระไตรปิฎก๔๕เล่มครบสมบูรณ์547พระชาติ

กฎแห่งกรรม ท.เลียงพิบูลย์ ฉบับสมบูรณ์ พิมพ์ครั้งที่ 1 พุทธศักราช 2555

ชุดหนังสือ-ตู้..พระไตรปิฎก

มรดกวรรณกรรม ท.เลียงพิบูลย์ รวมบทความจากชีวิตจริงเรื่องกฎแห่งกรรม

คำถามที่ถูกถามบ่อย-เกี่ยวกับหนังสือพระไตรปิฎก..ข้อมูลเบื้องต้นของหนังสือพระไตรปิฎก

เริ่มส่งหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ใหม่ เริ่มวันที่ 4 มกราคมนี้

ใหม่..ตู้พระไตรปิฎกติดกระจกลวดลายทองสีเขียวเข้ม

ภาพตู้พระไตรปิฎกไม้สักเต็มใบจากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ประจำวันที่ 29 ธค.54

กฎแห่งกรรมฉบับสมบูรณ์ โดย ท.เลียงพิบูลย์ พิเศษสุด 7 เล่ม 2800 บาท ค่าจัดส่ง 380 บาททั่วประเทศ

ราคาปรับปรุงใหม่... ชุด ธรรมโฆษณ์ ของ พระธรรมโกศาจารย์ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ โดย ธรรมทานมูลนิธิ ไชยา สวนโมกขพลาราม ได้มีการปรับราคา เพื่อให้เหมาะสมกับราคาการจัดพิมพ์ใหม่ โดยราคาหนังสือธรรมโฆษณ์ที่ปรับปรุงใหม่จะอยู่ใน แถบสีส้ม ดังต่อไปนี้

แนะนำ-หนังสือธรรมะ เรื่อง: ความสุขที่ยั่งยืน เบิกบาน สว่าง รุ่งเรือง ดุจดวงประทีป พระธรรมเทศนา โดย พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ)

ตู้พระไตรปิฎก ลวดลายทอง ติดกระจกสี ประดิษฐกรรม ตู้พระไตรปิฎกผลงานฝีมือทั้งหมด

หนังสือใหม่ :มรรคาสู่ชีวิตใหม่ การอยู่เหนืออำนาจบีบคั้นของสัญชาตญาณ พระธรรมเทศนา โดย พระธรรมโกศาจารย์ (หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ)

ความรู้เกี่ยวกับไม้สัก-เรื่องน่ารู้-

บริการจัดพิมพ์หนังสือเนื่องในงานที่ระลึกต่างๆ

ไตรลักษณ์ ... บริการจัดส่ง หนังสือ และ ผลิตภัณฑ์ ถึงที่บ้านท่านอย่างสะดวก และรวดเร็ว

กิจกรรม-ของ-ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา

รีวิว หนังสือ : บรมพรบรมธรรม ธรรม ๔ ประการที่ควรมีในทุกย่างก้าวชีวิต

ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ตู้และ หนังสือพระไตรปิฎก จัดส่ง ให้ลูกค้า

ขณะนี้กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือ ที่ระลึกงานฌาปนกิจฯ ” พ่อ ” พระผู้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทร ของลูก – 19 บาท

รายงานการ จัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย โดย ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก โดย ศูนย์หนังสือพระพุทธาสนาไตรลักษณ์

ขณะนี้ ดำเนินการจัดส่ง ตู้ และหนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นบริษัทขนส่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทรงตรง (แบบมาตรฐาน) ไม้สักแท้ทั้งหลัง สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก ชุด 45 เล่มภาษาไทย // บาลี // สยามรัฐ ราคา 8,500 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วประเทศ)

ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกและหนังสือพระไตรปิฎก ถึง วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี เป็นที่เรียบร้อย แล้วครับ

ตรวจเช็ค ตู้พระไตรปิฎก ก่อนดำเนินการจัดส่ง #ตุ้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก เพื่อดำเนินการจัดส่ง ทั่วประเทศต่อไป ท่านสามารถ มาเยี่ยมชม ตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก แบบต่างๆ ได้ที่ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

เตรียมจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก ไม้สักทั้งหลัง ทรงตรง สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ภาษาไทย มจร. พร้อมทั้ง ติดป้ายชื่อ ด้านบนตู้พระไตรปิฎก

ดำเนินการจัดทำ ส่วนแทรก รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ เรื่อง วิธีการทำงานให้เป็นการปฏิบัติธรรม (พุทธทาส) 20 บาท เพื่อเตรียมดำเนินการจัดส่ง ต่อไป

TRILAKBOOKS กับ บรรยากาศ ในงาน “การประชุมวิชาการประจำปี สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ และศึกษาศาสตร์” มหาวิทยาลัย มหิดล… ที่โรงแรม เดอะรอยัล ริเวอร์ (ติดแม่น้ำเจ้าพระยา) กรุงเทพฯ http://www.trilakbooks.com

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง #ตู้พระไตรปิฎก และ #หนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นบริษัทขนส่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ ท่านสามารถ ดู หนังสือ และ ตู้พระไตรปิฎก แบบต่างๆ ในราคามูลนิธิ ได้ที่ http://www.ตู้พระไตรปิฎก.com

เตรียม ตอกลังกันกระแทก ตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก แท้ ทั้งหลัง รุ่น ประตู 3 บาน สำหรับบรรจุ พระไตรปิฎก 91 เล่ม ภาษาไทย เพื่อเตรียมจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รามนาม ผู้ ถวายหนังสือ ธรรมะแจก “หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า” ราคาต้นทุนดรงพิมพ์ธรรมทาน 25 บาท (แทรกข้อความฟรี 1 หน้า)

ขณะนี้ ศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎก กำลัง ดำเนินการ บรรจุตู้พระไตรปิฎก ไม้สักแท้ ทั้งหลัง แบบ ทรงตรงธรรมดา และแบบ ทรงตรง ประดับ จั่วแกะสลัก ด้านบน

ทำเป็นหนังสือที่ระลึก เรื่อง ยาระงับสรรพโรค ของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ เล่มละ 20 บาท

ศูนย์จัดส่ง ตู้ และ หนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ไทย พร้อมทั้ง ตู้พระไตรปิฎก ไม้สักแท้ทั้งหลัง ด้านบนประดับจั่ว สลักลายดอกไม้ สวยงาม จัดส่ง ถึงวัดเทียนถวาย จ.ปทุมธานี เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ ศูนย์จัดพิมพ์หนังสือพระพุทธศาสนา กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมทาน “ธรรมทรงคุณค่า” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ 25 บาท เพื่อดำเนินการจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ต่อไป

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกไตรลักษณ์ เตรียมดำเนินการจัดส่งหนังสือ และตู้พระไตรปิฎก จัดส่ง ไปยังที่หมายแล้วครับ

ดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้จัดทำหนังสือธรรมะ เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ เรื่อง “ธรรมะทรงคุณค่า” เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ตู้ และหนังสือ พระไตรปิฎก

ขณะนี้ ลูกค้ามาดูหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทย และตู้พระไตรปิฎก ด้วยตนเอง สรุปได้เลือกตู้พระไตรปิฎก สีฟ้าลวดลายทอง แล้ว ให้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่งให้ต่อไป ที่ ** ส่งที่วัดสระมณี อำเภอหนองหาร จังหวัดอุดรธานี **

แหล่งรวมหนังสือธรรมะ ศูนย์จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ ที่รวบรวมหนังสือธรรมะมากกว่า 2000 รายการ

ศูนย์หนังสือที่เผยแพร่และจัดส่ง ตู้และหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ทั้งสอง แห่ง คือ มูลนิธิมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก แบบไม้สัก ทั้งหลัง พร้อมประดับลวดลายทองงานบรรจงประณีต

ลงรักปิดทอง คืออะไร ทำไมต้องลงรักปิดทอง?

จัดส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎก ไปถึง บ้านลูกค้า เพื่อนำไปถวาย วัดต่อไป กราบอนุโมทนาบุญด้วยครับ

ยาระงับสรรพโรค-พุทธทาสภิกขุ-20บาท ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก “เนื่องในงานฌาปนกิจศพ” เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ ให้ผู้มาร่วมงาน สวดพระอภิธรรม

ก่อนจะถึง เทศกาลสงกรานต์ ปีนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ส่วนแทรกรายชื่อ ผู้ร่วมถวายหนังสือพระไตรปิฎกฉบับประชาชน 20 เล่ม

เตรียมตอกลังกันกระแทก ครอบตู้พระไตรปิฎก เพื่อป้องกันการกระเทือน ระหว่างการขนส่ง

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์กำลัง ดำเนินการ ห่อตู้ และเตรียมจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ทั้งหลัง ราคาตู้พระไตรปิฎก 8500 บาท สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก ของ มหาจุฬาลงกรณฯ 45 เล่มภาษาไทย ราคา 15000 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่ง)

ขณะนี้ก่ำลังพิมพ์ รายชื่อ ผู้จัดพิมพ์หนังสือบรมพรบรมธรรม

ขณะนี้ คณะพระสงฆ์ ได้มา ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ราคามูลนิธิ 15,000.-

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกแบบลงรักปิดทอง ทั้งหลัง ไปยัง หมู่บ้านบุราสิริ ประชาชื่น-งามวงศ์วาน

ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก, ส่งหนังสือพระไตรปิฎก

ดำเนินการจัดส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎกภาษาไทย ไม้สักทั้งหลัง ถึง #สำนักสงฆ์หลวงปู่เจือ

เตรียมจัดส่งหนังสือ ปราชญ์กล่าวว่า "ชีวิตนี้น้อยนัก" ของสมเด็จพระสังฆราช เล่มละ 15 บาท พร้อมดำเนินการจัดส่ง แล้วครับ

ผนึก ป้ายรายชื่อบรรจุลงใน ชุดพระอภิธรรม คัมภีร์พระอภิธรรม + ตู้บรรจุพระอภิธรรมแบบลงรักปิดทอง

ตู้พระไตรปิฎก ของศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎกไตรลักษณ์ ที่ตอกลังกันกระแทก ทุกหลัง เพื่อไม่ให้กระทบกระเทือน ระหว่างตู้กัน กำลังดำเนินการจัดส่ง ถึงที่หมายเรียบร้อยแล้วครับ

ดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก ใช้หนังสือ บรมพรบรมธรรม โดย สมเด็จพระสังฆราชฯ ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 25 บาท ทำส่วนแทรก ข้อความฟรี

อนุโมทนาบุญ – ในการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะเป็นธรรมทาน ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์ ส่วนแทรกข้อความของผู้ประสงฆ์แทรกข้อความ บันทึกลงในหนังสือ บรมพรบรมธรรม ของสมเด็จพระสังฆราช เล่มละ 25 บาท

ดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ ให้แด่ผู้สั่งพิมพ์ หนังสือ บทสวดมนต์ คู่มืออุบาสกอุบาสิกา (ทำวัตรเช้าเย็น แปลไทย ทั้งหมด)

ดำเนินการจัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ นิมิตกฏแห่งกรรม-ราคา-18-บาท

จัดพิมพ์ งานพระราชทานเพลิงศพฯโดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า "วิธีสร้างบุญบารมี" -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ - 19 บาท

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการบรรจุ คัมภีร์ พระอภิธรรม หรือคัมภีร์ พระมาลัย พร้อม กล่องบรรจุพระคัมภีร์ จัดทำขึ้นด้วยงานฝีมือ ล้วน ทั้งใบ “ประดับ ลวดลายทอง พร้อม กับ ลงรักปิดทอง “

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดทำส่วนแทรก รายชื่อ พร้อม บทสวดมนต์ เพิ่มเติม เพื่อให้ผู้จัดพิมพ์ ดำเนินการ แจก เป็นหนังสือธรรมบรรณาการ แด่ ผู้สนใจ ศึกษา บทสวดมหามงคลหลวง #อุปปาตะสันติ #มหาสันติงหลวง เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ต่อไป

อาจารย์ จากศูนย์การเรียนรู้พิเศษประภาคารปัญญา (เด็กพิเศษ) มาซื้อพระไตรปิฎกภาษาไทย ของ มจร 45 เล่ม 1 ชุด

ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ชุดหนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาฯ ขึ้นบริษัทขนส่ง ทั่วประเทศเรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ ศูนย์ จัดพิมพ์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดพิมพ์ แทรกข้อความ รายนาม ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ แจกเป็นธรรมทาน “วิธีสร้างบุญบารมี โดย สมเด็จพระสังฆราช” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ ธรรมทาน 19 บาท ด้วยระบบ ดิจิตอล ความคมชัดสูง เพื่อจัดส่ง ต่อไป

ตรวจเช็ค หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ 45 เล่ม มจร

จัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมถวายหนังสือ #หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย 91 เล่ม ด้วยระบบเครื่องพิมพ์ ดิจิตอล ความละเอียดสูง เพื่อดำเนินการจัดส่งไปไป ท่านสามารถ ดูรายละเอียดหนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ 91 เล่ม (ชุดใหญ่)

พระไตรปิฎก,หนังสือพระไตรปิฎก, ตู้พระไตรปิฎก

กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมบุญ จัดพิมพ์หนังสือ เป็นธรรมบรรณาการ โดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า "วิธีสร้างบุญบารมี" -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ - 19 บาท

อนุโมทนาบุญ ผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือ บทสวดมหามงคลหลวง อุปปาตะสันติ มหาสันติงหลวง แปลไทย เล่มละ 30 บาท จำนวน 1,651 เล่ม

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก และหนังสือธรรมะ จัดส่งขึ้นบริษัทขนส่งเรียบร้อยแล้ว ครับ

ส่งตู้พระไตรปิฎกและหนังสือไปยัง วัดสะพานสูง ปากเกร็ด เรียบร้อยแล้วครับ

เตรียมจัดส่งขึ้นขนส่งแล้วครับ ตู้พระไตรปิฎกไม้สักลายไม้น้ำตาล

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก เตรียมดำเนินการ ตอกลังกันกระแทก ตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก รุ่น ประตู 3 บาน (ใหม่ล่าสุด) เพื่อจัดส่งขึ้นบริษัทขนส่ง เรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดทำ พระไตรปิฎก ภาษาไทย ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ราคามูลนิธิของมหาจุฬา 15000 บาท และจัดทำรายชื่อ ด้วยระบบพิมพ์ ดิจิตอล ความคมชัดสูง เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

นับเป็นบุญ ที่ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ได้ที่มีโอกาส เป็นสะพานบุญ ในการนำส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎก

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในราคามูลนิธิของมหาจุฬาฯ ราคา 15000 บาท (ไม่รวมค่าจัดส่ง) เรียบร้อยแล้ว

ดำเนินการจัดทำ หนังสือที่ระลึกเนื่องในงานฌาปนกิจ แทรก 1 หน้า โดยใช้หนังสือ บทสวดมนต์ “คู่มืออุบาสกอุบาสิกา” – 30 บาท

ขณะนี้ กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมบุญ จัดพิมพ์หนังสือ เป็นธรรมบรรณาการ โดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า “วิธีสร้างบุญบารมี” -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ – 19 บาท

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมทาน “วิธีสร้างบุญบารมี” โดยสมเด็จพระสังฆราช ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ 19 บาท

ส่งตู้พระไตรปิฎ ไม้สักทรง สี่เหลี่ยมคางหมู ประดับลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก แบบ91 เล่มภาษาไทย ไปยัง #หมู่บ้านพรไพศาล

จัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก พร้อมทั้งตู้พระไตรปิฎกทรงตรง แบบลงรักปิดทองสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย ถึง #วัดดอนตูม จังหวัดราชบุรี เรียบร้อยแล้ว ครับ

พระอาจารย์ท่านเดินทางไกล มาซื้อ ชุดพระคำภีร์บาลีปาฏิโมกข์ พร้อมกล่องบรรจุแบบลงรักปิดทอง ถึงที่ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือธรรมะ เป็น ของที่ระลึก เรื่อง… แม่-พระผู้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูก ราคา 19 บาท โปรโมชั่นพิเศษ สุด : สั่งพิมพ์ เพื่อเผยแพร่เป็นธรรมบรรณาการ 100 เล่มขึ้นไป จัดพิมพ์ข้อความสำหรับแทรกลงในหนังสือ ขาวดำ 1 หน้า ฟรี + จัดส่ง ทั่วประเทศ

ดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์ “ฃีวิตนี้น้อยนัก” เล่มละ 15 บาท เพื่อดำเนินการเตรียมจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก สีเหลือง ลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทยของ มจร ไปยังวัดเรียบร้อยแล้วครับ

เตรียมจัดส่ง หนังสือ “นวโกวาท” ราคามูลนิธิ มหามกุฏฯ 30 บาท เตรียมจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ทั่วประเทศ

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือ ธรรมะ เรื่อง ปราชญ์กล่าวว่า ชีวิตนี้น้อยนัก-ราคาต้นทุนโรงพิมพ์-15บาท

จัดพิมพ์หนังสือที่ระลึกงานศพ ใช้หนังสือเรื่อง คู่มืออุบาสกอุบาสิกา-บทสวดทำวัตรเช้าเย็นแปลไทย -30บาท

จัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก ไปยัง จังหวัดนนทบุรี

ดำเนินการจัดทำหนังสือให้ลูกค้าผู้สั่งพิมพ์หนังสือเป็นธรรมทาน เรื่อง วิธีสร้างบุญบารมี ซึ่งเป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 19 บาท

ลูกค้ามารับ คัมภีร์บาลีปาฏิโมกข์ พร้อม หีบบรรจุคัมภีร์ แบบลงรักปิดทอง พร้อมประดับลวดลายทอง

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก รุ่น เหลืองอัมพัน ประดับจั่วลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก ชุด 91 เล่ม ภาษาไทย ไปยัง วัดพุทธบูชา กุฎิจุ้ยจ้อย (กุฎิเจ้าคุณสุธีหรือเจ้าคุณบุญทัม)

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง #ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก ถึงที่หมายแล้ว ใหม่ล่าสุด + สวยงาม+แข็งแรงและไม่เหมือนใคร ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ รุ่นประตู 3 บาน สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก 91 เล่ม ภาษาไทยแปลพร้อมอรรถกถา

ศูนย์จัดส่ง ตู้ และหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย และ ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก ประดับจั่วลายดอกไม้ พร้อมทำป้ายปิดหน้าตู้ ผู้ถวายหนังสือและตู้พระไตรปิฎก ไปยังที่หมาย เรียบร้อยแล้ว ครับ

พิมพ์หนังสือธรรมะแจกในงานบวช

ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ขอขอบพระคุณ คุณอดิศักดิ์ ศรีสม ที่ได้สั่งพิมพ์ หนังสือบรมพร บรมธรรม

ขณะนี้ พระอาจารย์ มาตรวจต้นฉบับงานพิมพ์ หนังสือใหม่ที่สั่งพิมพ์ทั้งเล่ม โดย พิมพ์หนังสือพิมพ์แจกเป็นธรรมบรรณาการ ของเจ้าภาพ เพื่อนำแจกเป็นธรรมทานต่อไป

จัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ “อภินิหารแห่งบุญ- โดย – หลวงพ่อจรัญฯ”

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกฯ กำลังดำเนินการจัดทำ หนังสือ ที่ระลึก เพื่อแจกในงานบำเพ็ญบุญ หนังสือสวดมนต์ แปลไทย คู่มืออุบาสก อุบาสิกา 30 บาท และจักดำเนินการจัดส่งต่อไป

อนุโมทนาบุญ กับท่านผู้จัดพิมพ์หนังสือ เพื่อแจกเป็นธรรมทาน ” หนังสือ บรมพรบรมธรรม ” ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน เล่มละ 25 บาท (พิมพ์ข้อความแทรก ฟรี)

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือพระไตรปิฎก91เล่มภาษาไทย

ขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ดำเนินการจัดส่ง ตู้และหนังสือพระไตรปิฎก แทนลูกค้า

ขณะนี้ เตรียมห่อบรรจุ คัมภีร์ บาลีปาฏิโมกข์ แบบลงรักปิดทอง พร้อม ชุด คัมภีร์ ใบลานเทศน์มหาชาติ

ส่งหนังสือ “ธรรมะทรงคุณค่า” ถามตอบปัญหาธรรมะ โดย หลวงปู่มั่น เล่มละ 25 บาท ถึงที่หมายปลายทางเรียบร้อยแล้วครับ

พระอาจารย์ หลวงพ่อ เดินทางมาเลือก หนังสือธรรมะ ชุดธรรมโฆษณ์ ของหลวงพ่อพุทธทาส

ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดงาน ประชาสัมพันธ์ หนังสือ พระพุทธศาสนา ในงาน “การประชุมวิชาการประจำปี สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ และศึกษาศาสตร์” มหาวิทยาลัย มหิดล… ที่โรงแรม เดอะรอยัล ริเวอร์ (ติดแม่น้ำเจ้าพระยา) กรุงเทพฯ

เบาะรองนั่งสมาธิ-หุ้มด้วยหนังเทียมทำงานสะอาดง่าย-ราคา950บาท

จัดพิมพ์ข้อความส่วนแทรกรายชื่อ ผู้ร่วม แจกเป็นธรรมทาน “บทสวดมนต์บูชาพระพุทธคุณ ” ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 20 บาท พร้อมดำเนินการจัดส่งต่อไป

เตรียมงานพิมพ์แทรก รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ คู่มือมนุษย์ โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ (ปกแข็ง)

แนะนำกลุ่มตู้พระไตรปิฎกที่ใช้สำหรับหนังสือพระไตรปิฎก91เล่มไทย

ขณะนี้… ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก และ หนังสือพระพุทธศาสนา ไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วม ถวายหนังสือ และ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย พร้อม อรรถกถาแปล เพื่อดำเนินการจัดส่ง ต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือฯไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือแจกเป็นธรรมบรรณาการ เพื่อเผยแพร่พระธรรมคำสอน “ความสุขที่สมบูรณ์” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 19 บาท เตรียมจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ให้ถึงผู้สั่งพิมพ์ต่อไป

กราบอนุโมทนาบุญ ผู้ร่วมบุญสร้างถวาย หนังสือและตู้พระไตรปิฎก และขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ได้นำตู้และหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทย ไปยัง วัดอุดมสิทธิกุล อ.บางเลน จ.นครปฐม เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ละลึกเรื่อง ยาระงับสรรพโรค เล่มละ 20 บาท เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ “วิธีสร้างบุญบารมี” โดย สมเด็จพระสังฆราชฯ – 19 บาท เพื่อทำเป็นหนังสือที่ระลึกในงานฌาปนกิจฯ และเตรียมดำเนินการจัดส่งต่อไป

กลุ่มตัวอย่างตู้พระไตรปิฎกสำหรับหนังสือพระไตรปิำก45 เล่มไทย

เตรียมจัดส่งตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นรถกระบะ เพื่อนำส่งขึ้นบริษัทขนส่งเรียบร้อยแล้ว วันนี้ครับ

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้ และหนังสือ พระไตรปิฎก 45 เล่ม แปลไทย ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถึง …วัดจากแดง ต.ทรงคนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ เรียบร้อยแล้ว

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ ถ้ารู้จักพระพุทธศาสนาความสุขต้องมาทันที-ราคา20บาท โดย พระพรหมคุณาภรณ์ฯ

ลูกค้ามารับ #ตู้พระไตรปิฎก แบบ ไม้สักแท้ทั้งหลัง พร้อมทั้ง #หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในราคามูลนิธิ ที่ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ด้วยตนเอง

ขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทรงป้าน-สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก45เล่ม ราคา11000บาท สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

สถิติ

เปิดเว็บ15/04/2010
อัพเดท13/11/2024
ผู้เข้าชม11,381,670
เปิดเพจ17,031,604
สินค้าทั้งหมด2,001

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎก

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

...........................................

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ปรารภที่จะให้มีการแปลพระไตรปิฎกภาษามคธ

ฉบับมหาจุฬาเตปิฎก ให้เป็นภาษาไทยขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์การแปลเป็นภาษาไทยให้อ่านง่ายเพื่อให้พระภิกษุสามเณร

พุทธสาสนิกชน และผู้สนใจทั่วไปเข้าใจเนื้อความในพระไตรปิฎก และเป็นคู่มือ ในการศึกษาพระไตรปิฎกภาษามคธ

ฉบับ มหาจุฬาเตปิฎกที่นิสิตของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในพะบรมราชูปถัมภ์จะได้ถอืเอาไว้เป็นแนวในการทำความเข้าใจพระไตรปิฎก

ภาษามคธ ให้แจ้งยิ่งขึ้จ จึงได้ตั้งคณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการแปลคณะกรรมการตรวจสำนวน คณะกรรมการที่ปรึกษา

คณะ บรรณาธิการและคณะบรรณกรประกอบด้วยพระเถรานุเถระและศาสนบัณฑิตผู้ทรงคุณวุฒิมาดำเนินการแปล

ทั้งนี้ได้ถวายไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยกราบทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 

ทรงเป็นองค์ประธานอุปถัมภ์ อนึ่งในการแปลและจัดพิมพ์พระไตรปิฎกครั้งนี้ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 

ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีวัตถุประสงค์ โดยเฉพาะเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์

พระบรมราชินีนาถ เนื่องในมหามงคลสมัยที่ทรงเจริญพระชนมายุ ๖๐ พรรษา ในพุทธศักราช ๒๕๓๕ ด้วย

 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎก

   
 
ดร.ประมูล สารพันธ์
สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ 

นิยามและองค์ประกอบของพระไตรปิฎก
        พระไตรปิฎกเป็นคัมภีร์หลักของพระพุทธศาสนา คำว่า “ไตรปิฎก” ตามรูปศัพท์ มาจากภาษาบาลีว่า “ติปิฏกํ” หรือ เตปิฎกํ” แยกออกเป็น ๒ ศัพท์ คือ ไตร หรือ ติ (แปลว่า สาม) + ปิฏก (ปิฎก แปลว่า ตะกร้า) เมื่อรวมความแล้ว “ไตรปิฎก” แปลว่า ปิฎกสาม แต่โดยนัยอรรถาธิบายแล้ว พระที่มีความเชี่ยวชาญในพระพุทธศาสนาหรือพระอรรถกถาจารย์ ได้ให้ความหมายของ “พระไตรปิฎก” ไว้ ๒ นัย คือ
         ๑) ปิฎก หมายถึง คัมภีร์ หรือตำรา ดังบาลีว่า มา ปิฎก-สมฺปทาเนนฯ แปลว่า อย่าเชื่อโดยการอ้างตำรา 
         ๒) ปิฎก หมายถึง ภาชนะ (เช่น ตะกร้า) ดังประโยคบาลีว่า อถ ปุริโส อาคจฺเฉยฺย กุทฺทลปิฎกมาทายฯ ครั้งนั้น บุรุษคนหนึ่งถือจอบและตะกร้าเดินมา ดังนั้น คำว่า พระไตปิฎก ในที่นี้ จึงหมายถึง “คัมภีร์หรือตำราที่บรรจุคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า (และพระสาวกองค์สำคัญ) ไว้เป็นหมวดหมู่ ดุจดังภาชนะรองรับสิ่งของต่าง ๆ ให้สวยงาม” 


 ความเป็นมาของพระไตรปิฎก
        ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันปรินิพพานพระองค์ไม่ได้ทรงแต่งตั้งผู้ใดให้เป็นศาสดาสืบต่อจากพระองค์ นอกจากจะทรงประทานพุทธพจน์ที่เปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของพระองค์ไว้ว่า พระธรรมและวินัยที่มีเราแสดงแล้ว บัญญัติแล้วจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย เมื่อเราล่วงลับไปแล้ว นี่แสดงว่าในสมัยพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่นั้นยังไม่มีพระไตรปิฎกบันทึกคำสอน
ดังที่เราทราบกันอยู่ในปัจจุบัน พุทธวจนะหรือคำสอนของพระพุทธเจ้ามีชื่อเรียกกันในสมัยนั้น ๒ อย่าง (เสฐียรพงฆ์ วรรณปก,๒๕๔๓:๔) คือ 
        ๑. เรียก พฺรหฺมจริย (พรหมจรรย์) ดังพุทธวจน์ที่ตรัสเมื่อครั้งทรงส่งพระอรหันตสาวก ๖๐ รูป ไปเผยแผ่พระศาสนาครั้งแรกว่า
         จรถ ภิกฺขเว, จาริกํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย, อตฺถาย หิตาย สุขาย, เทวมนุสฺสานํ เทเสตุ ภิกฺขเว ธมฺมํ อาทิกลฺยาณํ มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลฺยาณํ สาตฺถํ สพ?ชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ ปกาเสสิฯ 
        ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเที่ยวไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พหูชน เพื่อความสุขแก่พหูชน เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายพวกเธอจงแสดงธรรมอันงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะ อันบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง 
        ๒. เรียกว่า ธมฺมวินเย (ธรรมวินัย) ดังพุทธวจนะที่ตรัสแก่พระอานนท์ พุทธอนุชา ก่อนเสด็จดับขันฐปรินิพพานว่า 
        โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ป?ฺ?ตฺโต. โส โว มมจฺจเยนฯ
        ดูกรอานนท์ ธรรมและวินัยใดที่ตถาคตแสดงไว้แล้ว บัญญัติไว้แล้ว ธรรมและวินัยนั้น จะเป็นศาสดาของพวกเธอ เมื่อตถาคตล่วงลับไปแล้ว
        ที่กล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นว่า ในสมัยพุทธกาลยังไม่มีการแบ่งพระพุทธวจนะไว้เป็นหมวดหมู่อย่างชัดเจน ยังไม่มีคำว่า “พระไตรปิฏก” หากแต่เรียกว่า           
       “ธรรมวินัย” การจัดหลักธรรมคำสอนเป็นหมวดหมู่อย่างเป็นระบบหมวดหมู่ที่เรียกว่า “การทำสังคายนา” นั้น เริ่มมีขึ้นเป็นครั้งแรก สมัยหลังพุทธปรินิพพานได้ประมาณ ๓ เดือน ที่เมืองปาฏลีบุตร ประเทศอินเดีย ซึ่งสมัยต่อมาก็ได้มีการทำสังคายนาขึ้นนอกประเทศอินเดียติดต่อกันมาประมาณ ๕ ครั้ง ได้แก่

       การสังคายนาครั้งที่ ๒ จัดทำขึ้นที่เมือง โดยมี เป็นประธาน มี เป็นผู้อุปถัมภ์ ใช้เวลาประมาณ เดือน/ปี 
       การสังคายนาครั้งที่ ๓ จัดทำขึ้นที่เมือง โดยมี เป็นประธาน มี เป็นผู้อุปถัมภ์ ใช้เวลาประมาณ เดือน/ปี 
       การสังคายนาครั้งที่ ๔ จัดทำขึ้นที่เมือง โดยมี เป็นประธาน มี เป็นผู้อุปถัมภ์ ใช้เวลาประมาณ เดือน/ปี 
       การสังคายนาครั้งที่ ๕ จัดทำขึ้นที่เมือง โดยมี เป็นประธาน มี เป็นผู้อุปถัมภ์ ใช้เวลาประมาณ เดือน/ปี (ส่วนนี้ รอเพิ่มตัวเลข)

       
       พระพุทธวจนะแต่เดิมใช้วิธีการสืบทอดด้วยการท่องบ่นสาธยาย ต่อมาหลังการทำสังคายนาแล้วได้รับการจารึกหรือจารเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรคเมื่อประมาณ พ.ศ. ที่ประเทศศรีลังกา การกระทำสังคายนาที่ถือกันว่ามีผลทำให้เกิดคำเรียกการประมวลหลักพระธรรมวินัยว่า “พระไตรปิฎก” เกิดขึ้นเมื่อไรนั้น มีผู้รู้ได้แสดงทัศนะที่น่าสนใจหลายประการ เช่น 

พระเมธีรัตนดิลก (๒๕๓๕ : ๙) ได้ให้ข้อสังเกตว่า

การสังคายนาครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ นี้มีเรื่องปรากฎในคัมภีร์จุลวรรคแห่งพระวินัยปิฎก ซึ่งนักปราชญ์สันนิษฐานว่า คงใส่เพิ่มเข้าไว้เมื่อทำสังคายนาครั้งที่ ๓ อนึ่ง ในหนังสือชั้นคัมภีร์บาลีพระไตรปิฎก ในสังคายนาครั้งที่ ๑ และ ๒ ไม่มีคำว่า “ปิฎก” เลย ใช้คำว่าสังคายนาพระธรรมวินัย หรือ วินัยวิสัชนา ธรรมวิสัชนา แต่มีคำอธิบายรายละเอียดในสมันตปาสาทิกา อรรถกถาวินัยปิฎก 

ซึ่งสอดคล้องกับ เสฐียรพงษ์ วรรณปก (๒๕๔๓ :๙-๓๑) ที่กล่าวว่า 

       “ถ้าอ่านประวัติการทำสังคายนาตั้งแต่ต้นจะสังเกตได้ว่า สังคายนาครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ เท่านั้นมีบันทึกอยู่ในพระไตรปิฎก คือมีอยู่ในพระไตรปิฎกเล่มที่ ๗ ข้อ ๖๑๔–๖๖๔ หน้า ๓๗๙–๔๒๓ วินัยปิฎก จุลวรรค นอกนั้นไม่มีกล่าวถึง และการกล่าวถึงสังคายนาทั้ง ๒ ครั้งนี้ ไม่ได้กล่าวถึง “พระไตรปิฎก” ใช้คำว่า “ธัมมวินัยสังคีติ” (การสังคายนาพระธรรมและวินัย) แสดงว่า พระพุทธวจนะนั้นยังไม่มีการจัดแบ่งเป็น”ปิฎก” หากเรียกรวม ๆ ว่า “ธรรมวินัย” เท่านั้น ต่อมาธรรมวินัยได้ขยายออกเป็น ๓ ส่วน แต่ละส่วนเรียกกันว่า “ปิฎก” คือธรรม ขยายเป็น สุตตันตปิฎก กับอภิธรรมปิฎก ส่วนวินัยคงเป็นวินัยปิฎก” 
       เสฐียรพงษ์ วรรณปก (๒๕๔๓ :๑๐-๑๑) ได้สรุปเกี่ยวกับการจัดรูปแบบและประเภทของพระพุทธวจนะหรือพระธรรมวินัยดังกล่าว ดังต่อไปนี้
       ในศิลาจารึกที่ค้นพบที่สาญจิสถูป (ซึ่งจารึกไว้ในต้นพุทธศตวรรษที่ ๓ ก่อนสมัยพระเจ้าอโศก) มีรายนามผู้สร้างส่วนต่าง ๆ ของพระสถูปปรากฎอยู่ พร้อมกับคุณศัพท์แสดงคุณสมบัติของบุคคลนั้น ๆ เช่น

ธมฺมกถิกา
เปฏกินฺ
สุตฺตนฺติกา
สุตฺตนฺติน
ีปฺจเนกายิการ

ผู้กล่าวธรรมทั้งหลาย
ผู้ทรงจำปิฎกทั้งหลาย
ผู้ทรงจำพระสูตร
สตรีผู้ทรงจำพระสูตร
ผู้ทรงจำนิกายทั้ง ๕

ในศิลาจารึกพระเจ้าอโศกซึ่งถูกค้นพบที่ ภาบรา มีข้อความอ้างถึงพระสูตรต่าง ๆ ที่พระเจ้าอโศกทรงพิจารณาเห็นว่าดี และทรงแนะนำให้ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หมั่นสดับตรับฟังและพิจารณาใคร่ครวญเสมอ ๆ เช่น

อริยวํสานิ  
อนาคตภยานิ  
มุนีคาถา 
โมเยยฺยสุตฺต 
อุปติสฺสปสิน
วงศ์แห่งพระอริยะ ทั้งหลาย
ภัยในอนาคตทั้งหลาย 
คาถาของพระมุนี 
สูตรว่าด้วยความเป็นมุนี 
ปัญหาของพระอุปติสสะ

 
      คำแรกประกฎอยู่ในทีฆนิกาย สังคีติสูตร คำที่สองมีอยู่ในอังคุตตรานิกาย ปัญจกนิบาต คำที่สามปรากฎใน ขุททกนิกาย สุตตนิบาต คำที่สี่มีอยู่ทั้งใน อังคตตรนิกาย และขุททกนิกาย อิติวุตตกะ คำสุดท้ายหมายถึง ปัญหาของพระสารีบุตร มีทั่วไปในพระสูตรต่าง ๆ ไม่ทราบว่าพระเจ้าอโศกทรงเจาะจงเรื่องใด
      จากหลักฐานทั้งสองแห่งนี้ กล่าวได้ว่า หลังจากสังคายนาครั้งที่สองเป็นต้นมา พระพุทธวาจนะหรือพระธรรมวินัยถูกจัดแบ่งเป็นหมวดหมู่ในชื่อว่า “ปิฎก” และ “นิกายทั้งห้า”(ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย ขุททกนิกาย) แล้ว ระยะแห่งพัฒนาการของพระไตรปิฎกคงกินเวลายาวนานเกือบศตวรรษ กว่าจะลงตัวเป็นพระไตรปิฎกที่สมบูรณ์ และเชื่อว่าพอตกถึงรัชสมัยพระเจ้าอโศก พระไตรปิฎกคงสมบูรณ์ทุกคัมภีร์แล้ว ด้วยปรากฎหลักฐานบางแห่ง (อาทิ สมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัยปิฎก) บอกว่า คัมภีร์กถาวัตถุ หนึ่งในจำนวนพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ ได้ถูกรจนาและผนวกเข้าไว้ในอภิธรรมปิฎก โดยพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ เมื่อคราวทำสังคายนาครั้งที่สาม 
      เหตุผลสนับสนุนอีกประการหนึ่งคือ ในพระไตรปิฎกไม่มีข้อความใดกล่าวถึงพระเจ้าอโศกเลย แสดงว่าพระไตรปิฎกสำเร็จเป็นรูปร่างสมบูรณ์แล้วก่อนสมัยพระเจ้าอโศกซึ่งก็สอดคล้องกับทัศนะของพระเทพโสภณ(ประยูร ธมฺมจิตฺโต) (ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่พระเมธีธรรมาภรณ์ ๒๕๓๕:๑๓๒) ที่กล่าวว่า “ในการสังคายนาครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สองซึ่งจัดขึ้นใน พ.ศ.๑๐๐ ยังไม่มีการแบ่งพระธรรมวินัยเป็นพระไตรปิฎกอย่างชัดเจน การจัดประเภทพระธรรมวินัย เป็นพระไตรปิฎกอย่างชัดเจน การจัดประเภทพระธรรมวินัยเป็นรุปพระไตรปิฎก มีขึ้นในการสังคายนาครั้งที่ สาม ในพ.ศ.๒๓๕ จัดขึ้น ณ เมืองปาฏลีบุตร ประเทศอินเดีย
      พระไตรปิฎก ประกอบด้วยคัมภีร์สำคัญ ๓ ปิฎก คือ พระวินัยปิฎก ว่าด้วยวินัย หรือข้อปฏิบัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียม และการดำเนินการต่าง ๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยพระสูตร หรือเทศนาที่ตรัสแก่บุคคลต่าง ๆ ในเวลาและสถานที่ต่างกัน เป็นรูปคำสนทนาโต้ตอบบ้าง เป็นรูปร้อยกรองบ้าง ร้อยแก้วบ้าง ร้อยแก้วผสมร้อยกรองบ้าง ตลอดถึงเทศนาของพระสาวกองค์สำคัญ พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยหลักธรรมต่าง ๆ ที่อธิบายในแง่วิชาการล้วน ๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคล หรือเหตุการณ์ ส่วนมากเป็นคำสอนด้านจิตวิทยา และอภิปรัชญาในพระพุทธศาสนา (เสฐียรพงษ์ วรรณมา, ๒๕๔๓ : ๓) เนื้อความทั้งหมดของพระไตรปิฎกจัดแบ่งเป็นหมวด ๆ หรือ ขันธ์ มีจำนวน ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งเป็น พระวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ พระสุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ และพระอภิธรรมปิฎก ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์


 ความสำคัญและคุณค่าของพระไตรปิฎก 
      พระไตรปิฎกมีความสำคัญและคุณค่าสำคัญหลายประการ (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ๒๕๔๓: ๖๘–๗๑) ได้แก่ ดังนี้
      ๑. พระไตรปิฎกเป็นที่รวมไว้ซึ่งพระพุทธพจน์ อันเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่พระองค์ได้ตรัสไว้เอง ซึ่งตกทอดมาถึงสมัยพวกเรา ทำให้เรารู้จักคำสอนของพระพุทธเจ้าจากพระไตรปิฎกเป็นสำคัญ
      ๒. พระไตรปิฎกเป็นที่สถิตของพระศาสดาของพุทธศาสนิกชน เพราะเป็นที่บรรจุพระธรรมวินัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ให้เป็นศาสดาแทนพระองค์ เราจะเฝ้าหรือรู้จักพระพุทธเจ้าได้จากพระดำรัสของพระองค์ที่ท่านรักษากันไว้ในพระไตรปิฎก
      ๓. พระไตรปิฎกเป็นแหล่งต้นเดิมของคำสอนในพระพุทธศาสนา คำสอน คำอธิบาย คัมภีร์ หนังสือ ตำรา ที่อาจารย์และนักปราชญ์ทั้งหลายพูด กล่าวหรือเรียบเรียงไว้ที่จัดว่าเป็นของในพระพุทธศาสนา จะต้องสืบขยายออกมาและเป็นไปตามคำสอนแม่บทในพระไตรปิฎก ที่เป็นฐานหรือเป็นแหล่งต้นเดิม
      ๔. พระไตรปิฎกเป็นหลักฐานอ้างอิงในการแสดงหรือยืนยันหลักการที่กล่าวว่า เป็นพระพุทธศาสนา จะเป็นที่น่าเชื่อถือหรือยอมรับได้ด้วยดี เมื่ออ้างอิงหลักฐานในพระไตรปิฎก ซึ่งถือว่า เป็นหลักฐานอ้างอิงขั้นสุดท้ายสูงสุด
      ๕. พระไตรปิฎกเป็นมาตรฐานตรวจสอบคำสอนในพระพุทธศาสนา คำสอนหรือคำกล่าวใด ๆ ที่จะถือว่าเป็นคำสอนในพระพุทธศาสนาได้ จะต้องสอดคล้องกับพระธรรมวินัยซึ่งมีมาในพระไตรปิฎก (แม้แต่คำหรือข้อความในพระไตรปิฎกเอง ถ้าส่วนใดถูกสงสัยว่าจะแปลกปลอม ก็ตรวจสอบด้วยคำสอนทั่วไปในพระไตรปิฎก)
      ๖. พระไตรปิฎกเป็นมาตรฐานตรวจสอบความเชื่อถือและข้อปฎิบัติในพระพุทธศาสนา ความเชื่อถือหรือข้อปฏิบัติตลอดจนพฤติกรรมใด ๆ จะวินิจฉัยว่าถูกต้องหรือผิดพลาดเป็นพระพุทธศาสนาหรือไม่ ก็โดยอาศัยพระธรรมวินัยที่มีมาในพระไตรปิฎกเป็นเครื่องตัดสิน
      ด้วยเหตุดังกล่าวมานี้ การศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกจึงเป็นกิจสำคัญยิ่งของชาวพุทธ ถือว่าเป็นการสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา หรือเป็นความดำรงอยู่ของพระพุทธศาสนากล่าวคือ ถ้ายังมีการศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกเพื่อนำไปใช้ปฏิบัติ พระพุทธศาสนาก็ยังดำรงอยู่ แต่ถ้าไม่มีการศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎก แม้จะมีการปฏิบัติก็จะไม่เป็นไปตามหลักการของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาก็จะไม่ดำรงอยู่คือจะเสื่อมสูญไป
      นอกจากความสำคัญในทางพระพุทธศาสนาโดยตรงแล้วพระไตรปิฎกยังมีคุณค่าที่สำคัญในด้านอื่น ๆ อีกมาก โดยเฉพาะ
      ๑. เป็นที่บันทึกหลักฐานเกี่ยวกับลัทธิ ความเชื่อถือ ศาสนา ปรัชญา ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม เรื่องราว เหตุการณ์ และถิ่นฐาน เช่น แว่นแคว้นต่าง ๆ ในยุคอดีตไว้เป็นอันมาก
      ๒. เป็นแหล่งที่จะสืบค้นแนวความคิดที่สัมพันธ์กับวิชาการต่าง ๆ เนื่องจากคำสอนในพระธรรมวินัยมีเนื้อหาสาระเกี่ยวโยง หรือครอบคลุมถึงวิชาการหลายอย่าง เช่น จิตวิทยา กฎหมาย การปกครอง เศรษฐกิจ เป็นต้น
      ๓. เป็นแหล่งเดิมของคำศัพท์บาลีที่นำมาใช้ในภาษาไทย เนื่องจากภาษาบาลีเป็นรากฐานสำคัญส่วนหนึ่งของภาษาไทย การศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกจึงมีอุปการะพิเศษแก่การศึกษาภาษาไทย
      รวมความว่า การศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกมีคุณค่าสำคัญ ไม่เฉพาะแต่ในการศึกษาพระพุทธศาสนาเท่านั้นแต่อำนวยประโยชน์ทางวิชาการในด้านต่าง ๆ มากมาย เช่น ภาษาไทย ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา โบราณคดี รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ศาสนา ปรัชญา และจิตวิทยา เป็นต้น

 


 โครงสร้างของพระไตรปิฎก 
      พระธรรมวินัย ที่บรรจุอยู่ในพระไตรปิฎกนั่น เป็นหลักในการจัดหมวดหมู่ของพระไตรปิฎกธรรมและวินัย ๒ อย่าง ท่านนำมาเก็บรวมจัดใหม่แยกเป็น ๓ ปิฎก คือ
      วินัย ได้แก่ ระเบียบข้อบังคับสำหรับชีวิตและชุมชนของภิกษุและภิกษุณี จัดไว้เป็นคัมภีร์หนึ่ง เรียกว่า วินัยปิฎก
      ธรรม จัดแยกเป็น ๒ คัมภีร์ คือ
      ๑) ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงยักเยื้องไปต่าง ๆ ให้เหมาะกับบุคคลสถานที่เหตุการณ์มีเรื่องราวประกอบจัดรวมไว้ เรียกว่า สุตตันตปิฎก
      ๒) ธรรมที่แสดงเป็นเนื้อหาหรือหลักวิชาล้วน ๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ ไม่มีเรื่องราวประกอบจัดไว้พวกหนึ่ง เรียกว่า อภิธรรมปิฎก ดังแผนภูมิแสดงโครงสร้างพระไตรปิฎกต่อไปนี้ (พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต) ๒๕๔๓ : ๗๒–๗๔)

 


 แผนภูมิแสดงโครงสร้างพระไตรปิฎก

 

 



พระไตรปิฎก หรือปิฎก ๓ นี้ เป็นคัมภีร์ที่มีขนาดใหญ่โตมาก มีเนื้อหามากมาย ดังที่ท่านระบุไว้ว่ามี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ฉบับพิมพ์อักษรไทยจัดแยกเป็น ๔๕ เล่ม นับรวมได้ถึง ๒๒,๓๗๙ หน้า หรือเป็นตัวอักษรประมาร ๒๔,๓๐๐,๐๐๐ ตัว
      แต่ละปิฎกมีการจัดแบ่งหมวดหมู่บทตอน ซอยออกไปมากมายซับซ้อน ดังปรากฏในแผนภูมิแสดงโครงสร้างพระไตรปิฎกที่กล่าวมา
      ในประเทศไทย พระไตรปิฎกได้รับการตีพิมพ์เป็นเล่มหนังสือด้วยอักษรไทยเป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ การตีพิมพ์เสร็จเรียบร้อยและมีการฉลองใน พ.ศ.๒๔๓๖ พร้อมกับงานรัชดาภิเษก พระไตรปิฎกที่ตีพิมพ์ครั้งนั้นจัดเป็นจบละ ๓๙ เล่ม
      ต่อมา พ.ศ.๒๔๖๘ ในสมัยรัชกาลที่ ๗ ได้โปรดเกล้าฯให้ตีพิมพ์ใหม่เป็นพระไตรปิฎกฉบับที่สมบูรณ์ เพื่ออุทิศถวายพระราชกุศลแด่รัชกาลที่ ๖ เรียกว่า พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ มีจำนวนจบละ ๔๕ เล่ม ซึ่งได้ถือเป็นหลักในการจัดแบ่งเล่มพระไตรปิฎกในประเทศไทยสืบมาจนปัจจุบัน

 


 สาระสำคัญของพระไตรปิฎก
      พระไตรปิฎก ๔๕ เล่มดังกล่าวมามีสาระสำคัญ โดยเรียงลำดับเล่มดังต่อไปนี้ (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต) : ๒๕๔๓ : ๗๕–๙๑)

 พระวินัยปิฎก
      ประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัย คือพุทธบัญญัติเกี่ยวกับ ความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่าง ๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ แบ่งเป็น ๕ คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่า อา ปา ม จุ ป)* จำนวน ๘ เล่ม
      เล่ม ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์ฝ่ายภิกษุสงฆ์ (กฎหรือข้อบังคับที่เป็นหลักใหญ่สำหรับพระภิกษุ) ๑๙ ข้อแรก ซึ่งอยู่ในระดับอาบัติหนักหรือความผิดสถานหนัก คือ ปาราชิก สังฆาทิเสส และอนิยต
      เล่ม ๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฎิโมกข์ฝ่ายภิกษุสงฆ์ ข้อที่เหลือ ซึ่งอยู่ในระดับอาบัติเบาหรือความผิดสถานเบา คือ ตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ จนครบสิกขาบท ๒๒๗ หรือ ศีล ๒๒๗
      เล่ม ๓ ภิกขุนีวิภังค์ ว่าด้วยสิกขบท ๓๑๑ ของภิกษุณี
      เล่ม ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาติโมกข์ (ระเบียบข้อบังคับทั่วไปเกี่ยวกับความเป็นอยู่และการดำเนินกิจการของภิกษุสงฆ์) ตอนต้น มี ๔ ขันธกะ (หมวด) คือ เรื่องกำเนิดภิกษุสงฆ์และการอุปสมบท อุโบสถ จำพรรษาและปวารณา
      เล่ม ๕ มหาวรรค ภาค ๒ ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาติโมกข์ตอนต้น (ต่อ) มี ๖ บันธกะ (หมวด) คือ เรื่องเครื่องหนัง เภสัช กฐิน จีวร นิคคหกรรม และการทะเลาะวิาทและสามัคคี
      เล่ม ๖ จุลลวรรค ภาค ๑ ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาติโมกข์ตอนปลาย มี ๔ ขันธกะ คือ เรื่องนิคคหกรรม วุฎฐานวิธีและการระงับอธิกรณ์
      เล่ม ๗ จุลลวรรค ภาค ๒ ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาติโมกข์ตอนปลาย (ต่อ) มี ๘ ขันธกะ คือ เรื่องข้อบัญญัติปลีกย่อย เรื่องเสนาสนะ สังฆเภท วัตรต่าง ๆ การงดสวดปาติโมกข์ เรื่องภิกษุณี เรื่องสังคายนา ครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ 
      เล่ม ๘ ปริวาร คู่มือถามตอบซ้อมความรู้พระวินัย

 พระสุตตันตปิฎก
      ประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตร คือ พระธรรมเทศนา คำบรรยายหรืออธิบายธรรมต่าง ๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่า และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนา แบ่งเป็น ๕ นิกาย (เรียกย่อหรือหัวใจว่า ที. ม. สัง. อัง. ขุ.) ๒๕ เล่ม
      ๑. ทีฆนิกาย ๓ เล่ม (ชุมนุมพระสูตรขนาดยาว)
      เล่ม ๙ สีลขันธวรรค มีพระสูตรขนาดยาย ๑๓ สูตร เริ่มด้วย พรหมชาลสูตร (หลายสูตรกล่าวถึงความถึงพร้อมด้วยสีลขันธ์ ซึ่งบางทีก็จำแนกเป็นจุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล จึงเรียกว่า สีลขันธวรรค)

      เล่ม ๑๐ มหาวรรค มีพระสูตรขนาดยาว ๑๐ สูตร ส่วนมากชื่อเริ่มด้วย “มหา” เช่น มหาปรินิพพานสูตร มหาสมยสูตร มหาสติปัฏฐานสูตร เป็นต้น
      เล่ม ๑๑ ปาฏิกวรรค มีพระสูตรขนาดยาว ๑๑ สูตร เริ่มด้วยปาฏิกสูตร หลายสูตรมีชื่อเสียง เช่น จักกวัตติสูตร อัคคัญญสูตร สิงคาลกสูตร และสังคีติสูตร
      
      ๒. มัชฌิมนิกาย ๓ เล่ม (ชุมนุมพระสูตรขนาดกลาง)
      เล่ม ๑๒ มูลปัณณาสก์ (ปั้นต้น) มีพระสูตรขนาดกลาง ๕๐ สูตร บางสูตรอาจจะคุ้นชื่อ เช่น ธรรมทายาทสูตร สัมมาทิฏฐิสูตร สติปัฏฐานสูตร รถวินีตสูตร วีมังสกสูตร
      เล่ม ๑๓ มัชฌิมปัณณาสก์ (บั้นกลาง) มีพระสูตรขนาดกลาง ๕๐ สูตร ที่อาจจะคุ้นชื่อ เช่น เสขปฎิปทาสูตร ชีวกสูตร อุปาลิวาทสูตร อภยราชกุมารสูตร มาคัณธิยสูตร รัฏฐปาลสูตร โพธิราชกุมารสูตร อังคุลิมาลสูตร ธรรมเจดียสูตร วาเสฎฐสูตร
      เล่ม ๑๔ อุปริปัณณาสก์ (บั้นปลาย) มีพระสูตรขนาดกลาง ๕๒ สูตร มีเนื้อหาแตกต่างกันหลากหลาย เช่น เทวทหสูตร โคปกโมคคัลลานสูตร สัปปุริสสูตร มหาจัตตารีสกสูตร อานาปานสติสูตร กายคตาสติสูตร ภัทเทกรัตตสูตร จูฬกรรมวิภังคสูตร สัจจวิภังคสูตร ปุณโณวาทสูตร สฬายตนวิภังคสูตร อินทรียภาวนาสูตร

      ๓. สังยุตตนิหาย ๕ เล่ม (ชุมนุมพระสูตรที่เกี่ยวกับหัวเรื่องเดียวกัน ๆ คือ ชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นกลุ่ม ๆเรียกว่าสังยุตต์หนึ่ง ๆ ตามเรื่องที่เนื่องกัน หรือตามหัวข้อหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง รวม ๕๖ สังยุตต์ มี ๗,๗๖๒ สูตร)

    เล่ม ๑๕ สคาถวรรค รวมคาถาภาษิตที่ตรัสและกล่าวตอบบุคคลต่าง ๆ เช่น เทวดา มาร ภิกษุณี พราหมณ์ พระเจ้าโกศล เป็นต้น จัดเป็นกลุ่มเรื่องตามบุคคลและสถานที่มี ๑๑ สังยุตต์
      เล่ม ๑๖ นิทานวรรค ครึ่งเล่มว่าด้วยเหตุและปัจจัย คือ หลักปฎิจจสมุปบาท นอกนั้นมีเรื่องธาตุ การบรรลุธรรมสังสารวัฎ ลาภสักการะ เป็นต้น จัดเป็น ๑๐ สังยุตต์
      เล่ม ๑๗ ขันธวารวรรค ว่าด้วยเรื่องขันธ์ ๕ ในแง่มุมต่าง ๆ มีเรื่องเบ็ดเตล็ดรวมทั้งเรื่อง สมาธิ และทิฎฐิต่าง ๆ ปะปนอยู่บ้าง จัดเป็น ๑๓ สังยุตต์
      เล่ม ๑๘ สฬายตนวรรค เกือบครึ่งเล่มว่าด้วยอายตนะ ๖ ตามแนวไตรลักษณ์ เรื่องอื่นมีเบญจศีล ข้อปฏิบัติให้ถึงอสังขตะ อันตคาหิกทิฏฐิ
      เล่ม ๑๙ มหาวารวรรค ว่าด้วยโพธิปักขิยธรรม ๓๗ แต่เรียงลำดับเป็นมรรค (พร้อมทั้งองค์ธรรมก่อนมรรค) โพชฌงค์ สติปัฏฐาน อินทรีย์ สัมมัปปธาน พละ อิทธิบาท รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวข้อง เช่น นิวรณ์ สังโยชน์ อริยสัจจ์ ฌาน ตลอดถึงองค์คุณของพระโสดาบันและอานิสงส์ของการบรรลุโสดาปัตติผล จัดเป็น ๑๒ สังยุตต์

     ๔. อังคุตตรนิกาย ๕ เล่ม (ชุมนุมพระสูตรที่เพิ่มจำนวนขึ้นทีละหน่วย คือชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นหมวด ๆ เรียกว่า นิบาตหนึ่ง ๆ ตามลำดับจำนวนหัวข้อธรรม รวม ๑๑ นิบาต หรือ ๑๑ หมวด ธรรมมี ๙,๕๕๗ สูตร)
      เล่ม ๒๐ เอก-ทุก-ติกนิบาต ว่าด้วยธรรม หมวด ๑ (เช่นธรรมเอกที่ฝึกอบรมแล้ว เหมาะแก่การใช้งาน ได้แก่ จิต, องค์คุณภายในอันเอกที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ ได้แก่ความไม่ประมาท ฯลฯ รวมทั้งเรื่องเอตทัคคะ) หมวด ๒ (เช่น สุข ๒ สิบสามชุด, คนพาล ๒, บัณฑิต ๒, ปฎิสันถาร ๒, ฤทธิ์ ๒ ฯลฯ) หมวด ๓ (เช่น มารดาบิดามีฐานนะต่อบุตร ๓ อย่าง, ความเมา ๓, อธิปไตย ๓, สิกขา ๓ ฯลฯ)
      เล่ม ๒๑ จตุกกนิบาต ว่าด้วยธรรม หมวด ๔ (เช่น อริยธัมม์ หรืออารยธรรม ๔, พุทธบริษัท ๔, ปธาน ๔, อคติ ๔, จักร ๔, สังคหวัตถุ ๔ ฯลฯ )
      เล่ม ๒๒ ปัญจก-ฉักกนิบาต ว่าด้วยธรรม หมวด ๕ (เช่น พละ ๕, นิวรณ์ ๕, อภิณหปัจจเวกขณ์ ๕, นักรบ ๕ ฯลฯ) และ หมวด ๖ (เช่น สาราณียธรรม ๖, อนุตตริย ๖, คาราวตา ๖, อภัพพฐาน ๖, ฯลฯ)
      เล่ม ๒๓ สัตตก-อัฎฐก-นวกนิบาต ว่าด้วยธรรม หมวด ๗ (เช่น อริยทรัพย์ ๗, อนุสัย๗, อปริหานิยธรรม ๗, สัปปุริสธรรม ๗,)
      เล่ม ๒๘ ชาดก ภาค ๒ รวมคาถาอย่างในภาค ๑ นั้น เพิ่มอีก แต่เป็นเรื่องอย่างยาว ตั้งแต่เรื่องมี ๕๐ คาถา (ปัญญาสนิบาต) ถึงเรื่องมีคาถามากมาย (มหานิบาต) จบลงด้วยมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งมี ๑,๐๐๐ คาถา ภาคนี้มี ๒๒ เรื่อง บรรจบทั้งสองภาค เป็น ๕๔๗ ชาดก
      ล่ม ๒๙ มหานิทเทส ภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายขยายความพระสูตร ๑๖ สูตร ในอัฎฐกวรรคแห่งสุตตนิบาต
      เล่ม ๓๐ จูฬนิทเทส ภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายขยายความพระสูตร ๑๖ สูตรในปารายนวรรคและขัคควิสาณสูตรในอุรควรรคแห่งสุตตนิบาต
      เล่ม ๓๑ ปฏิสัมภิทามรรค ภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายข้อธรรมที่ลึกซึ้งต่าง ๆ เช่น เรื่องญาณ ทิฏฐิ อานาปาน อินทรีย์ วิโมกข์ เป็นต้น อย่างพิสดาร เป็นทางแห่งปัญญาแตกฉาน
      เล่ม ๓๒ อปทาน ภาค ๑ บทประพันธ์ร้อยกรอง (คาถา) แสดงประวัติพระอรหันต์ โดยเฉพาะในอดีตชาติ เริ่มด้วยพุทธอปทาน (ประวัติของพระพุทธเจ้า) ปัจเจกพุทธอปทาน (เรื่องราวของพระปัจเจกพุทธเจ้า) ต่อด้วยเถรอปทาน (อัตตประวัติแห่งพระอรหันตเถระ) เริ่มแต่พระสารีบุตร พระมหาโมคคัลลานะ พระมหากัสสปะ พระอนุรุทธ ฯลฯ พระอานนท์ ต่อเรื่อยไปจนจบภาค ๑ รวม ๔๑๐ รูป
      เล่ม ๓๓ อปทาน ภาค ๒ คาถาประพันธ์แสดงอัตตประวัติพระอรหันตเถระต่ออีกจนถึงรูปที่ ๕๕๐
      ต่อนั้นเป็นเถรีอปทานแสดงเรื่องราวของพระอรหันตเถรี ๔๐ เรื่อง เริ่มด้วยพระเถรีท่ำม่คุ้นนาม ๑๖ รูป ต่อด้วยพระเถรีที่สำคัญ คือ พระมหาปชาบดีโคตมี พระเขมา พระอุบลวรรณา พระปฏาจารา ฯลฯ พระยโสธรา และท่านอื่น ๆ ต่อไปจนจบ
      ครั้งจบอปทานแล้ว ท้ายเล่ม ๓๓ นี้ มีคัมภีร์ พุทธวงส์เป็นคาถาประพันธ์แสดงเรื่องของพระพุทธเจ้าในอดีต ๒๔ พระองค์ที่พระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันเคยได้ทรงเฝ้าและได้รับพยากรณ์ จนถึงประวัติของพระองค์เอง รวมเป็นพระพุทธเจ้า ๒๕ พระองค์ จบแล้วมีคัมภีร์สั้น ๆ ชื่อ จริยาปิฎก เป็นท้ายสุด แสดงพุทธจริยาในอดีตชาติ ๓๕ เรื่องที่มีแล้วในชาดก แต่เล่าด้วยคาถาประพันธ์ใหม่ ชี้ตัวอย่างการบำเพ็ญบารมีบางข้อ
      ขุททกนิกาย นี้ เมื่อมองโดยภาพรวม ก็จะเห็นลักษณะที่กล่าวว่าเป็นที่ชุมนุมของคัมภีร์ปลีกย่อยเบ็ดเตล็ด คือ แม้จะมีถึง ๑๕ คัมภีร์ รวมได้ถึง ๙ เล่ม แต่
      • มีเพียงเล่มแรกเล่มเดียว (๒๕) ที่หนักในด้านเนื้อหา หลักธรรม แต่ก็เป็นคัมภีร์เล็ก ๆ ในเล่มเดียวมีถึง ๕ คัมภีร์ ทุกคัมภีร์มีความสำคัญและลึกซึ้งมาก
      • อีก ๓ เล่ม (๒๘–๒๙–๓๐) คือ นิทเทส และ ปฏิสัมภิทามรรค แม้จะแสดงเนื้อหาธรรมโดยตรง แต่ก็เป็นคำอธิบายของพระสาวก (พระสารีบุตร) ที่ไขความพุทธพจน์ที่มีอยู่แล้วในคัมภีร์ข้างต้น (ถือได้ว่าเป็นต้นแบบของอรรถกถา)
      • ที่เหลือจากนั้นอีก ๘ คัมภีร์ ล้วนเป็นบทประพันธ์ร้อยกรอง ที่มุ่งความไพเราะงดงามให้เร้าความรู้สึก เช่น เสริมศรัทธาเป็นต้น คือ
      เล่ม ๒๖ วิมารวัตถุ เปตวัตถุ เถรคาถา เถรีคาถา เล่าประสบการณ์ ความรู้สึก และคติของคนดี คนชั่วตลอดจนพระอรหันตวาวกที่จะเป็นตัวอย่าง / แบบอย่างสำหรับเร้าให้เกิดความรู้สึกสังเวช เตือนใจ และเร้ากำลังใจ ให้ละความชั่ว ทำความดี และเพียรบำเพ็ญอริยมรรค
      เล่ม ๒๗–๒๘ ชาดก แสดงคติธรรมที่สั่งสอนและเร้าเตือนให้กำลังใจจากการบำเพ็ญบารมีของพระพุทธเจ้าเอง
      เล่ม ๓๒–๓๓ อปทาน พุทธวงส์ จริยาปิฎก เป็นบทร้อยกรอง บรรยายประวัติ ปฎิปทา และจริยา ของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันตสาวกในแนวของวรรณศิลป์ที่จะเสริมปสาทะและจรรโลงศรัทธา

 พระอภิธรรมปิฎก
      ประมวลพุทธพจน์หมวดพระอภิธรรม คือหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นเนื้อหาวิชาล้วน ๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ แบ่งเป็น ๗ คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่า ส วิ ธา ปุ ก ย ป) ๑๒ เล่ม
      เล่ม ๓๔ (ธัมม) สังคณี ต้นเล่มแสดงมาติกา (แม่บท) อันได้แก่บทสรุปแห่งธรรมทั้งหลายที่จัดเป็นชุด ๆ มีทั้งชุด ๓ เช่น จัดทุกสิ่งทุกอย่างประดามีเป็นกุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากฤตธรรม ชุดหนึ่ง เป็นอดีตธรรม อนาคตธรรม ปัจจุบันธรรม ชุดหนึ่ง ฯลฯ และชุด ๒ เช่นจัดทุกสิ่งทุกอย่างเป็นสังขตธรรม อสังขตธรรม ชุดหนึ่ง โลกียธรรม โลกุตตรธรรม ชุดหนึ่ง เป็นต้น รวมทั้งหมดมี ๑๖๔ ชุด หรือ ๑๖๔ มาติกา
ตอนต่อจากนั้น ซึ่งเป็นเนื้อหาส่วนสำคัญของคัมภีร์นี้เป็นคำวิสัชชนา ขยายความมาติกาที่ ๑ เป็นตัวอย่าง แสดงให้เห็นกุศลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากตธรรมที่กระจายออกไปในแง่ของจิต เจตสิก รูป และนิพพาน
ท้ายเล่มมีอีก ๒ บท แต่ละบทแสดงคำอธิบายย่อหรือคำจำกัดความข้อธรรมทั้งหลายในมาติกาที่กล่าวถึงข้างต้นจนครบ ๑๖๔ มาติกา ได้คำจำกัดความข้อธรรมใน ๒ บท ต่างแนวกันเป็น ๒ แบบ (แต่บทท้ายจำกัดความไว้เพียง ๑๒๒ มาติกา)
      เล่ม ๓๕ ยกหลักธรรมสำคัญ ๆ ขึ้นมาแจกแจงแยกแยะอธิบายกระจายออกให้เห็นทุกแง่ และวินิจฉัยจนชัดเจนจบไปเป็นเรื่อง ๆ รวมอธิบายทั้งหมด ๑๘ เรื่อง คือ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และ ธาตุ ๑๘ ว่าข้อใดจัดเข้าได้หรือไม่ได้ในอย่างไหน ๆ และปุคคลบัญญัติ บัญญัติความหมายของชื่อที่ใช้เรียกบุคคลต่าง ๆ ตามคุณธรรม เช่นว่า “โสดาบัน” ได้แก่ บัคคลผู้ละสังโยชน์ ๓ ได้แล้ว ดังนี้เป็นต้น
      เล่ม ๓๗ กถาวัตถุ คัมภีร์ที่พระโมคคัลลีบัตรติสสเถระประธานการสสังคายนาครั้งที่ ๓ เรียบเรียงขึ้นเพื่อแก้ความเห็นผิดของนิกายต่าง ๆ ในพระพุทธศาสนาครั้งนั้น ซึ่งได้แตกแยกกันออกไปแล้วถึง ๑๘ นิกาย เช่น ความเห็นว่า พระอรหันต์เสื่อมจากอรหันตตผลได้ เป็นพระอรหันต์พร้อมกับการเกิดได้ ทุกอย่างเกิดจากกรรม เป็นต้น ประพันธ์เป็นคำปุจฉาวิสัชนา มีทั้งหมด ๒๑๙ กถา
      เล่ม ๓๘ ยมก ภาค ๑ คัมภีร์อธิบายหลักธรรมสำคัญให้เห็นความหมายและขอบเขตอย่างชัดเจน และทดสอบความรู้อย่างลึกซึ้ง ด้วยวิธีตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ (ยมก แปลว่า คู่) เช่นถามว่า ธรรมทั้งปวงที่เป็นกุศล เป็นกุศลมูล หรือว่าธรรมทั้งปวงที่เป็นกุศลมูล เป็นกุศล, รูป (ทั้งหมด) เป็นรูปขันธ์ หรือว่ารูปขันธ์ (ทั้งหมด) เป็นรูป, ทุกข์ (ทั้งหมด) เป็นทุกขสัจจ์ หรือว่าทุกขสัจจ์ (ทั้งหมด) เป็นทุกข์ หลักธรรมที่นำมาอธิบายในเล่มนี้มี ๗ คือ มูล (เช่นกุศลมูล) ขันธ์ อายตนะ ธาตุ สัจจะ สังขาร อนุสัย ถามตอบอธิบายเรื่องใด ก็เรียกว่ายมกของเรื่องนั้น ๆ เช่น มูลยมก ขันธยมก เป็นต้น เล่มนี้จึงมี ๗ ยมก
      เล่ม ๓๙ ยมก ภาค ๒ ถามตอบอธิบายหลักธรรมเพิ่มเติมจากภาค ๑ อีก ๓ เรื่อง คือ จิตตยมก ธรรมยมก (กุศล-อกุศล-อัพยากตธรรม) อินทรียยมก บรรจบเป็น ๑๐ ยมก
      เล่ม ๔๐ ปัฏฐาน ภาค ๑ คัมภีร์ปัฏฐาน อธิบายปัจจัย ๒๔ โดยพิสดาร แสดงควาวมสัมพันธ์อิงอาศัยเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแง่ด้านต่าง ๆ ธรรมที่นำมาอธิบายก็คือข้อธรรมที่มีในมาติกาคือแม่บทหรือบทสรุปธรรม ซึ่งกล่าวไว้แล้วในต้นคัมภีร์สังคณีนั่นเอง แต่อธิบายเฉพาะ ๑๒๒ มาติกา แรกที่เรียกว่า อภิธรรมมาติกา
      ปัฏฐานเล่มแรกนี้ อธิบายความหมายของปัจจัย ๒๔ เป็นการปูพื้นความเข้าใจเบื้องต้นก่อน จากนั้นจึงเข้าสู่เนื้อหาของเล่ม คือ อนุโลมติกปัฏฐาน อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด ๓ (ติกมาติกา) โดยปัจจัย ๒๔ นั้น เช่นว่า กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัยอย่างไร กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมโยอุปนิสสยปัจจัยอย่างไร อกุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัยอย่างไร กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมโดยอารัมมณปัจจัยอย่างไร ฯลฯ ฯลฯ (เล่มนี้อธิบายแต่ในเชิงอนุโลม คือตามนัยปกติ ไม่อธิบายตามนัยปฏิเสธ จึงเรียกว่าอนุโลมปัฏฐาน)
      เล่ม ๔๑ ปัฏฐาน ภาค ๒ อนุโลมติกปัฏฐาน ต่อ คือ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด ๓ ต่อจากเล่ม ๔๐ เช่น อดีตธรรมเป็นปัจจัยแก่ปัจจุบันธรรมโดย อารัมมณปัจจัย (พิจารณารูป เสียง เป็นต้น ที่ดับเป็นอดีตไปแล้ว ว่าเป็นของไม่เทียง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เกิดความโทมนัสขึ้น ฯลฯ) เป็นต้น
      เล่ม ๔๒ ปัฏฐาน ภาค ๓ อนุโลมทุกปัฏฐาน อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลาย ในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา) เช่น โลกียธรรมเป็นปัจจัยแก่โลกียธรรม โดยอารัมมณปัจจัย (รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ) ดังนี้ เป็นต้น
      เล่ม ๔๓ ปัฏฐาน ภาค ๔ อนุโลมทุกปัฏฐาน ต่อ 
      เล่ม ๔๔ ปัฏฐาน ภาค ๕ ยังเป็นอนุโลมปัฏฐาน แต่อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทต่าง ๆ ข้ามชุดกันไปมา ประกอบด้วย อนุโลมทุกติกปัฏฐาน ธรรมในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา) โยงกับธรรมในแม่บทชุด ๓ (ติกมาติกา) เช่นอธิบาย “กุศลธรรมที่เป็นโลกุตตรธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมที่เป็นโลกียธรรม โดยอธิปติปัจจัย” เป็นอย่างไร เป็นต้น อนุโลมติกทุกปัฏฐาน ธรรมในแม่บทชุด ๓ (ติกมาติกา) โยงกับธรรมในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา) อนุโลมติกติกปัฏฐาน ธรรมในแม่บทชุด ๓ (ติกมาติกา) โยงระหว่างต่างชุดกัน เช่น อธิบายว่า “กุศลธรรมที่เป็นอดีตธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมที่เป็นปัจจุบันธรรม” เป็นอย่างไร เป็นต้น อนุโลมทุกทุกปัฏฐาน ธรรมในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา) กับธรรมในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา) โยงระหว่างต่างชุดกัน เช่น ชุดโลกียะโลกุตตระ กับชุดสังขตะอสังขตะ เป็นต้น
      เล่ม ๔๕ ปัฏฐาน ภาค ๖ เป็น ปัจจนียปัฏฐาน คือ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายอย่างเล่มก่อน ๆ นั่นเอง แต่อธิบายแง่ปฏิเสธ แยกเป็น ปัจจนียปัฏฐาน คือ ปฏิเสธ + ปฏิเสธ เช่นว่า ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัย เป็นอย่างไร อนุโลมปัจจนีย์ปัฏฐาน คือ อนุโลม+ ปฏิเสธ เช่นว่า อาศัยโลกิยธรรม ธรรมที่ไม่ใช่โลกุตตรธรรม เกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัย เป็นอย่างไร ปัจจนียานุโลมปัฏฐาน คือ ปฏิเสธ+อนุโลม เช่นว่า อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัยเป็นอย่างไร และในทั้ง ๓ แบบนี้ แต่ละแบบ จะอธิบายโดยใช้กรรมในแม่บทชุด ๓ แล้วต่อด้วยชุด ๒ แล้วข้ามชุดระหว่างชุด ๒ กับชุด ๒ จนครบทั้งหมดเหมือนกัน ดังนั้นแต่ละแบบจึงแยกซอยละเอียดออกไปเป็น ติก ทุก ทุกติก ติกทุก ติกติก ทุกทุก ตามลำดับ (เขียนให้เต็มเป็น ปัจจนียติกปัฏฐาน ปัจจนียทุกปัฏฐาน ปัจจนียทุกติกปัฏฐาน ฯลฯ ดังนี้เรื่อยไปจนถึงท้ายสุด คือ ปัจจนียานุโลมทุกทุกปัฏฐาน)
      คัมภีร์ปัฏฐานนี้ ท่านอธิบายค่อนข้างละเอียดเฉพาะเล่มต้น ๆ เท่านั้น เล่มหลัง ๆ ท่านแสดงไว้แต่หัวข้อหรือแนวและทิ้งไว้ให้ผู้เข้าใจแนวนั้นแล้ว เอาไปแจกแจงโดยพิสดารเอง โดยเฉพาะเล่มสุดท้ายคือภาค ๖ แสดงไว้ย่นย่อที่สุดแม้กระนั้นก็ยังเป็นหนังสือถึง ๖ เล่ม หรือ ๓,๓๒๐ หน้า กระดาษพิมพ์ ถ้าอธิบายโดยพิสดารทั้งหมด จะเป็นเล่มหนังสืออีกจำนวนมากมายหลายเท่าตัว ท่านจึงเรียกปัฏฐานอีกชื่อหนึ่งว่า “มหาปกรณ์” แปลว่า ตำราใหญ่ ใหญ่ทั้งโดยขนาดและโดยความสำคัญ

 

.................................................................................................................

ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ได้นำข้อมูล มาจาก

จำหน่ายตู้พระไตรปิฎกและหนังสือพระไตรปิฎกของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 45 เล่ม บริการจัดส่งทั่วประเทศและบริการจัดส่งหนังสือธรรมะและสุขภาพบริการจัดส่งทั่วโลก

จากไตรลักษณ์ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน www.trilakbooks.com

จำหน่ายตู้พระไตรปิฎกและหนังสือพระไตรปิฎกของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 45 เล่ม บริการจัดส่งทั่วประเทศและบริการจัดส่งหนังสือธรรมะและสุขภาพบริการจัดส่งทั่วโลก

จากไตรลักษณ์ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน www.trilakbooks.com

 

ตัวอย่างตู้พระไตรปิฎกสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจำนวน 45 เล่ม 

ซึ่ง เป็นตู้ไม้สัก จากจังหวัดตาก สามารถติดต่อสอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

086-461-8505, 081-424-0781 , 02-482-7358 www.trilakbooks.com

บริการจัดส่งฟรี ทั่วกรุงเทพมหานคร

และคิดค่าขนส่งจากบริษัทขนส่ง เมื่อส่งต่างจังหวัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


ตัวอย่างตู้พระไตรปิฎกสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจำนวน 45 เล่ม 

ซึ่ง เป็นตู้ไม้สัก จากจังหวัดตาก สามารถติดต่อสอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

086-461-8505, 081-424-0781 , 02-482-7358 www.trilakbooks.com

บริการจัดส่งฟรี ทั่วกรุงเทพมหานคร

และคิดค่าขนส่งจากบริษัทขนส่ง เมื่อส่งต่างจังหวัด

Tags : พระไตรปิฎก ตู้พระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก

view

 หน้าแรก

 บทความ

 เว็บบอร์ด

รวมรูปภาพ

ติดต่อเรา

view