จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ-จำหน่ายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-จำหน่าย และพิมพ์หนังสือธรรมะและบทสวดมนต์ราคาโรงพิมพ์ธรรมทาน-จำหน่ายพระพุทธรูป หิ้งพระ และของตกแต่งห้องพระ จัดส่งทั่วประเทศและต่างประเทศ ................................................
/music/.mp3 http://www.trilakbooks.com
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

หน้าแรก

รายชื่อหนังสือ

พระพุทธรูป

TIKTOK เฟอร์นิเจอร์

LOAD

กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น-พิมพ์100เล่มขึ้นไปแทรกข้อความขาวดำฟรี1หน้า

พิมพ์หนังสือธรรมะ,พิมพ์หนังสือสวดมนต์,หนังสือที่ระลึก

คัมภีร์ปาฏิโมกข์-แผ่นพับทุกแบบ

งานพุทธศิลป์-อุปกรณ์ตกแต่งภายใน

หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก

สาระ-หนังสือพระไตรปิฎก-ฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

หนังสือพระไตรปิฎก-ที่มีความสำคัญไม่แพ้กันกับ-หนังสือพระไตรปิฎกฉบับเต็ม

อานิสงส์ของการฟังธรรม5ประการ

การสังคายนาเป็นเหตุให้เกิดพระไตรปิฎก

การสวดปาฏิโมกข์คืออะไร

พระวินัยของสงฆ์ในหนังสือพระไตรปิฎก

พุทธประวัติ ในยุคต้นๆ ในพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก

อรรถกถา คืออะไร มีความสัมพันธ์กับ พระไตรปิฎกอย่างไร

หนังสือพระไตรปิฎก และ หนังสือพุทธธรรม มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

พระไตรปิฎก เป็นฐานของสรรพวิชา 6 แขนง

พระไตรปิฎก หมายถึงอะไร แนวทางการศึกษาพระไตรปิฎก ขอบเขตความรู้ในพระไตรปิฎก

เคล็ดลับอายุยืนจากพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎกของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย..เป็นอย่างไร?

พระไตรปิฎกคืออะไร

ความสำคัญและการรักษาพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎก

สาระดี

บัณฑิต ตามพุทธวิธี ความสัมพันธ์กับพระไตรปิฎก

พระผู้ทรงมหากรุณา ไม่มีสิ้นสุด คือ พระปัญญาญาณ ของ พระพุทธเจ้า

ประวัติ-องค์ท้าวเวสสุวรรณ-และการบูชา

อุปสรรคที่สำคัญในชีวิตThe-important-obstacle-in-life

รวมเรื่อง ในหนังสือคู่มือมนุษย์ ของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

การจัดห้องพระตามความเหมาะสมและถูกต้อง

การสวดปาฏิโมกข์ต่างจากการสังคายนาอย่างไร?

7 ภาพวาด ที่บอกเล่าเรื่องราว ครั้งสำคัญประวัติศาสตร์ ของพระพุทธศาสนา

ความซับซ้อนของกรรม : โดยสมเด็จพระสังฆราชฯ

คาถาชะลอวัย-ที่พระพุทธเจ้าทรงได้เคยประทานไว้

ให้ทานอย่างไร-จึงจะได้ทำบุญอย่างสมบูรณ์-ป.อ.ปยุตฺโต

เด็กชายวัย 8 ขวบ ปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อใช้จ่ายค่าเทอม

กฎการรักษาความสัมพันธ์ทั้ง๖ทิศเพื่อชีวิตที่เจริญรุ่งเรือง

สิ่งที่จะป้องกันเรา-จากความตาย

ถาม-ตอบ (หลวงปู่มั่น) ตอน เวลาคน เราเวลาไข้หนักใกล้จะตาย?

แพทย์ศิริราช ออกแถลงการณ์ด่วน หลวงพ่อจรัญ’ มรณภาพแล้ว

พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า?

สหายของนางวิสาขา

ควรทำงานอย่างไร

พระพุทธศาสนาเป็นแหล่งสำคัญที่หล่อหลอมเอกลักษณ์ของชาติไทย

สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

การรักษาศีล,สมเด็จพระญาณสังวร

เรื่อง...ขายบัตรเบิกทางไปสวรรค์

ศรัทธากับกฏแห่งกรรม-โดยหลวงพ่อจรัญ

ความหมายของ-บุญ-บาป-จากหนังสือพุทธธรรม

ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม

เกร็ดความรู้ เรื่อง เหตุให้ไปสุคติและทุคติ

อะไรทำให้-ปราชิก?-จากหนังสือ-นวโกวาท-หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี

อานิสงส์ของศีล-5ประการ

ประวัติความเป็นมา ของพระอวโลกิเตศวรในคัมภีร์ฝ่ายมหายาน

การปฏิบัติภาวนา-ในพระไตรลักษณ์-อนิจจัง-ทุกขัง-อนัตตา

วิธีการทำงาน-ให้เป็นการปฏิบัติธรรม

หาความสุขได้จากสิ่งที่เป็นทุกข์ โดย หลวงพ่อพุทธทาส

ประวัติพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ (โดย ท่านพระอาจารย์มหาบัว ญาณสัมปันโน)

MP3-อย่าสร้างนิสัยทางออกให้กิเลส

104ธรรมะสำหรับคนเจ็บไข้

ธรรมบรรยาย ของหลวงพ่อพุทธทาส เรื่อง/ไฟล์ สวรรค์ในหน้าที่การงาน.mp3

สิ่งที่มีคุณอนันติ์ก็มีโทษมหันต์ได้

สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงเคารพ-โดยหลวงพ่อพุทธทาส

กรณีพระธรรมกาย บทเรียน เพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสร้างสรรสังคมไทย โดย พระพรหมคุณาภร ป.อ.ปยุตฺโต

เหตุผล 5 ประการ ที่ควร กินอาหารให้ช้าลง

นาฬิกาชีวิต

7-ลักษณะนิสัยเศรษฐี

โหลด/ฟังMP3-กาลามสูตร-หลักความเชื่อ-10-ประการ

ฟัง-MP3-ระวังอย่าให้โง่เท่าเดิม-โดย-หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

โหลด MP3 - ความดับไม่เหลือ-โดย-หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ประโยชน์ของแตงกวา

ไข่เจียวผัก-อร่อยๆ-ใส่ผักอะไรได้บ้าง

การเสียสละเป็นพื้นฐาน สำหรับโพธิสัตว์

ความริษยา เครื่องทำลายโลก

ทาน ติดตามเจ้าของทานไปตลอด

สติ กับความเพียรช

กินผักผลไม้ต้านมะเร็งได้

ลาบเจ

ผัดฉ่าปลาหมึกและกุ้ง

ต้มข่าไก่เจ

ผลไม้ที่ควรกินเป็นประจำ

มะเขือยาวลดกระ-ด่างดำ-และอื่นๆ

ชาเก็กฮวยอาหารที่ช่วยเพิ่มEQ

น้ำตาลกับความแก่

ประโยชน์ของมะเขือเทศ

ืืทำไมใครๆจึงหันมากินมังสวิรัติ

ตู้พระไตรปิฎกสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกฉบับ45เล่มภาษาไทย 45เล่มบาลี 100เล่ม ส.ธรรมภักดี

จำหน่ายเบาะนั่งสมาธิ-อาสนะ-และที่นั่งสำหรับปฏิบัติธรรม-สำหรับพระภิกษุและฆราวาส

ดาวน์โหลด-MP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-5-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลด-MP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่4-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-3-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-2-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-1-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-ท่องนรกกับพระมาลัย-ม้วน-2-หน้า-A-โดยคุณ สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3ท่องนรกกับพระมาลัยม้วน1หน้า-B-โดยคุณสนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3ท่องนรกกับพระมาลัย ม้วน 2 หน้า B - โดยคุณ สนธิชัย ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลด MP3 ท่องนรกกับพระมาลัย ม้วน 1 หน้า A - โดยคุณ สนธิชัย ทวีโชคทรัพย์สิน

เบาะรองนั่ง-เบาะทำ(ธรรม)สมาธิ-รุ่นBASIC

เบาะรองนั่ง-เบาะทำ(ธรรม)สมาธิ-รุ่นCOMFORT

อานิสงส์-แห่งการประกอบกรรมดีในลักษณะต่างๆ

ออกใหม่-คำบรรยายในพระไตรปิฎก-โดย-ศาสตราจารย์พิเศษเสฐียรพงษ์วรรณปกราชบัณฑิต

พระพุทธเจ้าทรงสอนอะไร

สามารถดาวน์โหลด บทแผ่เมตตา พร้อมคำแปลไทย ในรูปแบบ MP3-และตายแล้วไปไหน

เชิญชวนศึกษาพระไตรปิฎก

การสวดมนต์ช่วยให้พ้นนรกได้อย่างไร

อัศจรรย์ไฟไหม้หอสมุดวัดพนัญเชิงตู้ไตรปิฎกโบราณรอดปาฎิหารย์

การเผยแพร่หนังสือธรรมะเป็นทาน

อานิสงส์แห่งการชักชวนผู้อื่นถวายทาน

คัมภีร์อุปปาตะสันติ เป็นวรรณกรรมภาษาบาลีของล้านนาไทย

เหตุไรบางคนระลึกชาติได้ บางคนระลึกไม่ได้ ?

มีสติกับเทคโนโลยี โดย ท่านพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล

อานิสงส์สร้างหนังสือพระไตรปิฎก,และการถวายหนังสือพระไตรปิฎก

เสียงธรรม : ธรรมะมีลำดับ โดยท่านพระพรหมคุณาภรณ์

คู่มือมนุษย์ เรื่องงที่ ๗ การทำให้รู้แจ้งตามวิธะรรมชาติ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๖ คนเราติดอะไร (เบญจขันธ์)

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๕ ขั้นตอนการปฏิบัติ ศาสนา (ไตรสิกขา) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

วิธีการเจริญสติในชีวิตประจำวัน

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๔ อำนาจของความยึดติด (อุปาทาน) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๓ ลักษณะสามัญของสิ่งทั้งปวง (ไตรลักษณ์) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๒ พุทธศาสนา มุ่งชี้อะไร เป็นอะไร (โดยหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ)

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๑ ท่านชอบพุทธศาสนาในเหลี่ยมไหน

ยิ่งให้ยิ่งได้ บทความธรรมะจากหนังสือธรรมะเรื่อง ยิ่งให้ยิ่งได้

ภาพภายในศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

แม่ไม่รัก... เรื่อง โดย แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต

ีรีวิว.พระพุทธรูปหล่อเลซินปางพระพุทธเจ้าชนะมารจากศูนย์หนังสือไตรลักษณ์

บททดสอบใจ และเตือนใจให้นึกถึงความจริง(ความตาย)

ปฏิบัติต่อบุรพการีโดยทำหน้าที่ให้ถูกต้อง-จากหนังสือความจริงแห่งชีวิต-พระพรหมคุณาภรณ์(ป. อ. ปยุตฺโต)

การปล่อยวาง (Letting Go)

แนะใช้สมุนไพร รสฝาด รักษาโรคน้ำกัดเท้า และโรคเบาหวาน ฯลฯ

เรื่อง การสั่งซื้อหนังสือ และผลิตภัณฑ์ จากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

ไม้นวดและไม้กดจุดเพื่อสุขภาพ และการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

โรคหลอดเลือดแข็ง-กลไกการเกื้อหนุนการเกิดพยาธิสภาพ(จาก..หนังสือรู้สู้โรค)

หนังสือพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลโดยมหามกุฎราชวิทยาลัย และตู้พระไตรปิฎกไม้สัก เผยแพร่โดยไตรลักษณ์ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา www.trilakbooks.com โทร.02-482-7358,086-461-8505,081-424-0781

มนุษย์ประเสริฐ-เพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้-จาก-จาริกบุญจารึกธรรม-จาริกนมัสการและแสดงธรรมกถา ณ สังเวชนียสถาน

หนังสือพระไตรปิฎกฉบับแปลไทยจำนวน45เล่มของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและตู้พระไตรปิฎกไม้สักสีน้ำตาลอ่อนและน้ำตาลเข้มพร้อมทั้งตู้พระไตรปิฎกลงทองคำเปลวติดกระจกสีสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก

...ข้อคิดดีๆ..(ช่วย)รักษาใจให้มีความสุข...

ดาวน์โหลดแผนที่การเดินทางมายังศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

"ถูกชมก็ธรรมดา ถูกด่าก็เฉยๆ"

จัดพิมพ์ส่วนเพิ่มรายชื่อในหนังสือพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎกจากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจำนวน 45 เล่ม

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักสีดำงานพุทธศิลป์จากจังหวัดตาก

ตู้พระไตรปิฎกปิดทองคำเปลวลงกระจกศิลปะดั้งเดิมของงานพุทธศิลป์

ตู้หนังสือพระไตรปิฎก ปิดทองคำเปลว และตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก ศิลปะจากจังหวัดตาก จากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา

ปณิธานของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน

ยิ่งนอนดึก ยิ่งเร่งวันตายเร็ว

NEW-ZONE ศูนย์หนังสือฯ กลางป่า หนีเมืองกรุง

NEW ZONE ไตรลักษณ์ ศูนย์หนังสือ เปิด โซนหนังสือใหม่ เอาใจคอหนังสือธรรมะและหนังสือเพื่อสุขภาพ

เจ้าชู้หลายใจ ต้องชดใช้กรรม

10 เหตุผลดีๆ ที่จะไม่กินเนื้อสัตว์

ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ให้อะไรมากกว่าที่คุณคิด

รีวิว ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา - ร้านหนังสือธรรมะ ที่ร่มรื่นที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ

"เปลี่ยนอาการอกหัก หันมารักนิพพานแทน"

6 พิษอันตรายของผงชูรส

มจร. ถวายดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่ท่านชยสาโรภิกขุ

เมื่อจิตหดหู่เราควรเจริญธรรมข้อใด

คงไม่มีพระพุทธศาสนา ถ้าไม่มีพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ตะลึง!!10ขวบตายแล้วฟื้น

5เหตุผลหลักที่ต้องเลือกศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

อย่าหูเบา

ความหมายและที่มาของ : อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ : ตนเป็นที่พึ่งของตน

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎก ทั้ง 45 เล่ม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ส่งตรงจาก มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความสุข 5 ชั้น พระธรรมเทศนา โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตฺโต

พระพุทธศาสนา มีความมุ่งหมายอย่างไร โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ความสุข อยู่แค่ ที่ ปลายจมูก โดยท่าน ไพศาล วิสาโล

มรณานุสติ พิจารณาถึงความตาย โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

การตอบแทนพระคุณของแม่ โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

ท่านได้อะไรเมื่อไปงานศพ

ชีวิตนี้สำคัญที่ใจ โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

“ความกตัญญูกตเวที” (สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก)

พ่อแม่นั้นทำทุกอย่างเพื่อลูกด้วยความรัก

นิทานยอดกตัญญูจีน เรื่อง เลือกแต่ของดีๆ ไปให้แม่

นิทานยอดกตัญญูจีน เรื่อง ตามใจพ่อแม่

ร่วมสนับสนุนหนังสือธรรมะจาก หนังสือคลังธรรมทาน

บริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะแด่ท่านผู้ใจบุญ

ฟ้าดินให้ความสำคัญกับ “ความกตัญญู” เป็นอันดับแรก

บริการจัดทำหนังสือธรรมะเป็นธรรมทาน ในราคาพิเศษสุด บริการจัดส่ง ทั่วประเทศ

ใครจะพูดสรรเสริญเรา นินทาเรา หรือว่ากล่าวตักเตือนเรา เราต้องฟังได้ จึงจะเป็นคนดี เป็นคนซื่อสัตย์สุจริต อันนี้เราต้องพิจารณาดูว่า เรามีลักษณะอย่างนี้หรือไม่

ตัวตน แห่งที่มาของความเห็นแก่ตัว

สุภาษิต และคำพังเพย ให้ชวนคิด ของท่านพุทธทาส

โทษ และภัยของบุหรี่

ธรรมะดีดีจากหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

พระไตรปิฎกนั้นคืออะไร

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้และหนังสือพระไตรปิฎกมจร.พุทธศาสนิกชนผู้ใจบุญ และผู้ประสงค์จะร่วมสร้างบุญกุศลด้วยตู้พระไตรปิฎก

เมื่อเราป่วยและรักษาไม่หาย

กลอน พุทธทาส จักอยู่ไปไม่มีตาย โดย พระธรรมโกศาจารย์ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

วิธีฝึกจิต โดยหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือแสดงหลักธรรม ฉบับสมบูรณ์

อะไรภาษาคน-อะไรภาษาธรรม

คนทั่วไปมองครูอย่างไร ?

พอใจ กับ ไม่พอใจ ดีใจ กับเสียใจ ก็ทุกข์พอกัน

อย่าอวดดี ว่าเราเห็น จากหนังสือเรื่องความลับของชีวิตของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

โรคทางจิตวิญญาณ สำคัญ และเป็นกันมาก...แค่ไหน

ธรรมปฏิสันถาร คืออะไร

ระบบอานาปานสติจากผลงานหนังสือธรรมะของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

หัวข้อธรรมในคำกลอน กลอนธรรมะจากสุดยอดผลงานหนังสือของ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

บทความธรรมะเรื่อง "การศึกษา" คือสิ่งที่ทำความก้าวหน้าอย่างถูกต้อง

เนื้อหาธรรมะในการดำเนินชีวิตเรื่อง หน้าที่ของเรา

โรคร้ายหายได้ด้วยการสวดมนต์

ยินดีที่จะเสี่ยง เมื่อศัลยแพทย์คนนี้ตัดสินใจมาขายรองเท้าเธอกลัวที่จะเสียใจที่ไม่ได้ทำมากกว่าความล้มเหลว โดย มาเรีย บาร์ติโรโมท

เนื้อหาสาระในบทธรรมะจากหนังสือธรรมะ การงานคือตัวการปฏิบัติธรรม โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ตัวตนที่แท้จริง,ใช่หรือไม่ใช่

TIP อย่าเห็นสิ่งใด ประเสริฐกว่าธรรม

TIP ชีวิตที่ดีที่สุด

เจท ลี ฮีโร่นอกจอ ทั้งในภาพยนต์และในชีวิตจริงชีวิตจริงก็คือธรรมะ

ธรรมศาสตราจะมีได้ต่อเมื่อมีการปฏิบัติเท่านั้น

ทำความรู้จักกับคำว่า อตัมมยตาประยุกต์กัน

ทำความเข้าใจกับคำว่าพรหมจรรย์

พระไตรปิฎก,สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้,โดยพระพรหมคุณาภรณ์

นิทานซึ้งใจ :ไม้เท้ายอดกตัญญู ลูกๆหลานๆ เด็กและเยาวชนควรอ่าน

สวดมนต์ ทำสมาธิ รักษาโรคได้จริง

การถวายหนังสือธรรมะเป็นทาน,อานิสงส์ของการถวายหนังสือ,คำถวายหนังสือ,คำกรวดน้ำแบบย่อ,คำกรวดน้ำแบบเต็ม

ใช้สมาธิพิชิตมะเร็ง ทำเดี๋ยวนี้เลย!!

ทำอย่างไรจึงจะพ้นกรรม

อาหารรักษามะเร็ง ใช้ ธรรมชาติ รักษาธรรมชาติ

9 วิธี สะสมแต้มเพื่อไป นิพพาน (จาก นิตยสาร ซีเครท เคล็บลับสู่ความสุขและความสำเร็จ)

จริงหรือที่ว่า ผู้ปฏิบัติธรรม ต้องไม่มีความอยาก ตอนที่ ๒

จริงหรือที่ว่า ผู้ปฏบัติธรรม ต้องไม่มีความอยาก ตอนที่ ๑

มหัศจรรย์สมุนไพรไทย 11 ชนิด

วารีบำบัด

วิธีล้างผักสด สูตร บ้านสุขภาพ

อาหารกาย-อาหารใจ ความสัมพันธ์ที่แยกไม่ออก โดย... รศ.พญ.จิรพรรณ

ใช้หนี้กรรมสุนัข แมว พระภาวนาวิสุทธิคุณ กรรมติดจรวด

เปรตหลวงพ่อขำ

การระลึกถึงความตายต้องทำจิตใจให้แยบคาย

ช่วยมารดา พ้น นรก (หลวงปู่จันทา ถาวโร)

คิด อย่างไร จึงจะ ได้ดี และ มีความสุข 12 ข้อคิด เพื่อความสุขความเจริญ

บทความโดยย่อ : ร่ำรวยความสุข

ธรรมะ กับ การทำงาน : รู้หน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ จะมีศักดิ์ ศรีทั้งทางโลก และทางธรรม

สมาธิ ในชีวิตประจำวัน : พระธรรมโกศาจารย์ ประยูร ธมฺมจิตโต

ชีวิตนี้สำคัญที่ใจ : การควบคุมสติปัญญาด้วยตัวเราเอง

เริ่มชีวิตใหม่ได้ความสุข copy_resize

ความรักสัมผัสได้ด้วยใจ

เนื้อหา และข้อความสำคัญของ นรกสวรรค์ท่านเลือกได้

พระไตรปิฎกและถรรถกถาแปล-ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

ศูนย์จัดจำหน่ายพระไตรปิฎก-ขายตู้พระไตรปิฎก หนังสือธรรมะ-การจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก-ของตกแต่งห้องพระ

อนุโมทนาบุญแด่คณะท่านเจ้าภาพผู้ถวาย ตู้และหนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทยชุดใหญ่

ก่อนจัดส่งธรรมาสน์ไม้สักต้องตรวจเช็ค

ศูนย์จำหน่ายของแต่งห้องพระและพระพุทธรูป

อนุโมทนาบุญแด่ท่านแม่ชีและคณะเจ้าภาพผู้ร่วมบุญกันถวายชุดตู้พระไตรปิฎก

ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก ที่ไหนดี

กราบอนุโมทนาบุญแด่คณะเจ้าภาพท่านผู้ถวายพระไตรปิฎก

รวมคลิ๊ป รีวิว ตู้พระไตรปิฎก แบบต่างๆ

ศูนย์จัด ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก และ จัดจำหน่ายตู้พระไตรปิฎกทั่วประเทศ

เลือกซื้อหนังสือพระไตรปิฎก แบบไหนดี ถวายวัด?

กลุ่มรายชื่อหนังสือพระไตรปิฎก แบบมาตรฐานฉบับเต็ม

คำถามที่พบบ่อย เกี่ยวกับ การซื้อพระไตรปิฎก และการจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก

ราคาหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ มหามกุฏราชวิทยาลัยฯ

ศาสนาพุทธไม่ใช่ศาสนาแห่งปรัชญา

ป้ายอลูมิเนียมอย่างดี สีทอง ติด บนตู้พระไตรปิฎก หรือ บนกล่อง-หีบ-บรรจุพระคัมภีร์ต่างๆ ในราคาโรงงาน 700 บาท

กลุ่มหนังสือธรรมะ โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน

VV กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น VV จัดพิมพ์ 100 เล่มขึ้นไป พิมพ์แทรกข้อความฟรี 1 หน้า จัดส่งทั่วประเทศ

ตู้สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก รุ่น ลงรักปิดทอง ราคา 10,900 บาท

หิ้งพระไม้สักหมู่9หน้า9ราคา18500จัดส่งทั่วประเทศ

เบาะรองนั่งสมาธิ-อาสนะ-สำหรับนั่งสมาธิหรือนั่งวิปัสสนากรรมฐานราคา4900บาทสีน้ำตาล

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ทรงป้าน-ทรงA-ออกใหม่สุด-สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก91เล่มราคา15000บาทจัดส่งทั่วประเทศ

พิกัด เส้นทาง การเดินทางมายัง ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนา ไตรลักษณ์

การสั่งพิมพ์หนังสืออุปปาตะสันติ

ตู้สำหรับบรรจุพระไตรปิฎกกลุ่ม45เล่มสีเขียวเข้ม

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลัง-สำหรับ-บรรจุหนังสือพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลจำนวน-91-เล่ม

ตู้บรรจุ-หนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรม-โดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย-โดยศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์-ราคา-5000-บาท

ตู้พระธรรมบรรจุหนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรมโดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การค้นหารายการหนังสือด้วยวิธีการง่ายๆ

ตู้พระไตร-ไม้สักทั้งหลัง-ทรงป้านราคา9900บาท

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลังแกะลวดลายทองประดับกระจกสีสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก45เล่มของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลัง-ทรงตรงมาตรฐานสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก45เล่มของมหาจุฬาฯ

ตู้พระไตรปิฎกสีแดงลวดลายทอง-ใหม่สำหรับพระไตรฯ45เล่ม

ใหม่ล่าสุด-ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลังแกะลวดลายประณีตวิจิตรบรรจงสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก91เล่ม

หลังจากการโอนเงิน-ค่าหนังสือ-หรืออื่นๆแล้วต้องส่งเอกสารแจ้งด้วยหรือไม่

โทรสั่งหนังสือพระไตรปิฎก-จัดส่งทั่วประเทศ

ตัวอย่าง..หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ มหาเถระสมาคม ภาษาไทย 45 เล่ม

การสั่งซื้อหนังสือพระไตรปิฎกและตู้หนังสือพระไตรปิฎกทุกชนิดจำเป็นต้องโทรศัทพ์สั่งโดยตรง

แนะนำ **การเดินทางมายังศูนย์ไตรลักษณ์** เพิ่มเติม จาก ถนนบรมราชชนนี ปิ่นเกล้า มุ่งหน้ามายัง พุทธมณฑลสาย 4

จำหน่ายหนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรมราคา3300บาทโดยศูนย์หนังสือพระไตรปิฎกไตรลักษณ์

ราคาหนังสือพระไตรปิฎกทุกชุดที่เผยแพร่เป็นราคากลาง

เชิญเยี่ยมชม-ด้วยภาพภายในศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ บางส่วน

สั่งซื้อจัดธรรมโฆษณ์ทั้งชุดจากธรรมทานมูลนิธิของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ เผยแพร่โดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ 02-482-7358, 087-696-7771

แนะนำหนังสือที่ใช้แจกเป็นธรรมทาน งานอนุสรณ์ **แจกเนื่องในงานที่ระลึก และเป็นที่นิยมในปัจจุบัน**

ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกจำนวน45เล่มราคา8,500บาท

ตู้พระไตรปิฎกลายทอง-ทรงตรง-ราคา8,500บาท

ตู้พระไตรปิฎกทรงป้าน-ลวดลายทอง

ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ร่วมมอบตู้พระไตรปิฎกให้แก่รายการแฟนพันธุ์แท้

ตัวอย่าง-ส่วนเพิ่มรายชื่อผู้จัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎก

ตู้พระไตรปิฎกสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก

พิมพ์หนังสือธรรมะแจกในงานพิเศษต่างๆ

การจำหน่ายพระไตรปิฎกราคาที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน

บริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ , พิมพ์หนังสือสวดมนต์, หนังสืองานศพ, งานบวช, งานแต่งงาน,

ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อ-สำหรับผู้ถวายหนังสือพระไตรปิฎก

ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-บริการจัดส่งทั่วประเทศและต่างประเทศ

แหล่งบริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะและศูนย์รวมหนังสือธรรมะแบบครบวงจร

ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-หนึ่งในโครงการของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

พระไตรปิฎกแปล๑๐๐เล่ม-ฉบับส.ธรรมภักดี

พระไตรปิฎกภาษาไทย พุทธศักราช 2549 ฉบับเฉลิมพระเกียรติ-โดยมหาเถรสมาคมเผยแพร่

หนังสือขายดี..พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน

หนังสือขายดี..พุทธธรรม..ฉบับปรับปรุงและขยายความ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย..โดยพระพรหมคุณาภรณ์(ปอ.ปยุตฺโต)

แนะนำหนังสือขายดี...พระเจ้า500ชาติฉบับสมบูรณ์อดีตชาติก่อนที่จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้ารวมชาดกจากพระไตรปิฎก๔๕เล่มครบสมบูรณ์547พระชาติ

กฎแห่งกรรม ท.เลียงพิบูลย์ ฉบับสมบูรณ์ พิมพ์ครั้งที่ 1 พุทธศักราช 2555

ชุดหนังสือ-ตู้..พระไตรปิฎก

มรดกวรรณกรรม ท.เลียงพิบูลย์ รวมบทความจากชีวิตจริงเรื่องกฎแห่งกรรม

คำถามที่ถูกถามบ่อย-เกี่ยวกับหนังสือพระไตรปิฎก..ข้อมูลเบื้องต้นของหนังสือพระไตรปิฎก

เริ่มส่งหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ใหม่ เริ่มวันที่ 4 มกราคมนี้

ใหม่..ตู้พระไตรปิฎกติดกระจกลวดลายทองสีเขียวเข้ม

ภาพตู้พระไตรปิฎกไม้สักเต็มใบจากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ประจำวันที่ 29 ธค.54

กฎแห่งกรรมฉบับสมบูรณ์ โดย ท.เลียงพิบูลย์ พิเศษสุด 7 เล่ม 2800 บาท ค่าจัดส่ง 380 บาททั่วประเทศ

ราคาปรับปรุงใหม่... ชุด ธรรมโฆษณ์ ของ พระธรรมโกศาจารย์ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ โดย ธรรมทานมูลนิธิ ไชยา สวนโมกขพลาราม ได้มีการปรับราคา เพื่อให้เหมาะสมกับราคาการจัดพิมพ์ใหม่ โดยราคาหนังสือธรรมโฆษณ์ที่ปรับปรุงใหม่จะอยู่ใน แถบสีส้ม ดังต่อไปนี้

แนะนำ-หนังสือธรรมะ เรื่อง: ความสุขที่ยั่งยืน เบิกบาน สว่าง รุ่งเรือง ดุจดวงประทีป พระธรรมเทศนา โดย พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ)

ตู้พระไตรปิฎก ลวดลายทอง ติดกระจกสี ประดิษฐกรรม ตู้พระไตรปิฎกผลงานฝีมือทั้งหมด

หนังสือใหม่ :มรรคาสู่ชีวิตใหม่ การอยู่เหนืออำนาจบีบคั้นของสัญชาตญาณ พระธรรมเทศนา โดย พระธรรมโกศาจารย์ (หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ)

ความรู้เกี่ยวกับไม้สัก-เรื่องน่ารู้-

บริการจัดพิมพ์หนังสือเนื่องในงานที่ระลึกต่างๆ

ไตรลักษณ์ ... บริการจัดส่ง หนังสือ และ ผลิตภัณฑ์ ถึงที่บ้านท่านอย่างสะดวก และรวดเร็ว

กิจกรรม-ของ-ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา

รีวิว หนังสือ : บรมพรบรมธรรม ธรรม ๔ ประการที่ควรมีในทุกย่างก้าวชีวิต

ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ตู้และ หนังสือพระไตรปิฎก จัดส่ง ให้ลูกค้า

ขณะนี้กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือ ที่ระลึกงานฌาปนกิจฯ ” พ่อ ” พระผู้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทร ของลูก – 19 บาท

รายงานการ จัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย โดย ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก โดย ศูนย์หนังสือพระพุทธาสนาไตรลักษณ์

ขณะนี้ ดำเนินการจัดส่ง ตู้ และหนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นบริษัทขนส่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทรงตรง (แบบมาตรฐาน) ไม้สักแท้ทั้งหลัง สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก ชุด 45 เล่มภาษาไทย // บาลี // สยามรัฐ ราคา 8,500 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วประเทศ)

ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกและหนังสือพระไตรปิฎก ถึง วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี เป็นที่เรียบร้อย แล้วครับ

ตรวจเช็ค ตู้พระไตรปิฎก ก่อนดำเนินการจัดส่ง #ตุ้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก เพื่อดำเนินการจัดส่ง ทั่วประเทศต่อไป ท่านสามารถ มาเยี่ยมชม ตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก แบบต่างๆ ได้ที่ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

เตรียมจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก ไม้สักทั้งหลัง ทรงตรง สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ภาษาไทย มจร. พร้อมทั้ง ติดป้ายชื่อ ด้านบนตู้พระไตรปิฎก

ดำเนินการจัดทำ ส่วนแทรก รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ เรื่อง วิธีการทำงานให้เป็นการปฏิบัติธรรม (พุทธทาส) 20 บาท เพื่อเตรียมดำเนินการจัดส่ง ต่อไป

TRILAKBOOKS กับ บรรยากาศ ในงาน “การประชุมวิชาการประจำปี สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ และศึกษาศาสตร์” มหาวิทยาลัย มหิดล… ที่โรงแรม เดอะรอยัล ริเวอร์ (ติดแม่น้ำเจ้าพระยา) กรุงเทพฯ http://www.trilakbooks.com

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง #ตู้พระไตรปิฎก และ #หนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นบริษัทขนส่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ ท่านสามารถ ดู หนังสือ และ ตู้พระไตรปิฎก แบบต่างๆ ในราคามูลนิธิ ได้ที่ http://www.ตู้พระไตรปิฎก.com

เตรียม ตอกลังกันกระแทก ตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก แท้ ทั้งหลัง รุ่น ประตู 3 บาน สำหรับบรรจุ พระไตรปิฎก 91 เล่ม ภาษาไทย เพื่อเตรียมจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รามนาม ผู้ ถวายหนังสือ ธรรมะแจก “หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า” ราคาต้นทุนดรงพิมพ์ธรรมทาน 25 บาท (แทรกข้อความฟรี 1 หน้า)

ขณะนี้ ศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎก กำลัง ดำเนินการ บรรจุตู้พระไตรปิฎก ไม้สักแท้ ทั้งหลัง แบบ ทรงตรงธรรมดา และแบบ ทรงตรง ประดับ จั่วแกะสลัก ด้านบน

ทำเป็นหนังสือที่ระลึก เรื่อง ยาระงับสรรพโรค ของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ เล่มละ 20 บาท

ศูนย์จัดส่ง ตู้ และ หนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ไทย พร้อมทั้ง ตู้พระไตรปิฎก ไม้สักแท้ทั้งหลัง ด้านบนประดับจั่ว สลักลายดอกไม้ สวยงาม จัดส่ง ถึงวัดเทียนถวาย จ.ปทุมธานี เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ ศูนย์จัดพิมพ์หนังสือพระพุทธศาสนา กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมทาน “ธรรมทรงคุณค่า” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ 25 บาท เพื่อดำเนินการจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ต่อไป

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกไตรลักษณ์ เตรียมดำเนินการจัดส่งหนังสือ และตู้พระไตรปิฎก จัดส่ง ไปยังที่หมายแล้วครับ

ดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้จัดทำหนังสือธรรมะ เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ เรื่อง “ธรรมะทรงคุณค่า” เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ตู้ และหนังสือ พระไตรปิฎก

ขณะนี้ ลูกค้ามาดูหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทย และตู้พระไตรปิฎก ด้วยตนเอง สรุปได้เลือกตู้พระไตรปิฎก สีฟ้าลวดลายทอง แล้ว ให้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่งให้ต่อไป ที่ ** ส่งที่วัดสระมณี อำเภอหนองหาร จังหวัดอุดรธานี **

แหล่งรวมหนังสือธรรมะ ศูนย์จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ ที่รวบรวมหนังสือธรรมะมากกว่า 2000 รายการ

ศูนย์หนังสือที่เผยแพร่และจัดส่ง ตู้และหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ทั้งสอง แห่ง คือ มูลนิธิมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก แบบไม้สัก ทั้งหลัง พร้อมประดับลวดลายทองงานบรรจงประณีต

ลงรักปิดทอง คืออะไร ทำไมต้องลงรักปิดทอง?

จัดส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎก ไปถึง บ้านลูกค้า เพื่อนำไปถวาย วัดต่อไป กราบอนุโมทนาบุญด้วยครับ

ยาระงับสรรพโรค-พุทธทาสภิกขุ-20บาท ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก “เนื่องในงานฌาปนกิจศพ” เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ ให้ผู้มาร่วมงาน สวดพระอภิธรรม

ก่อนจะถึง เทศกาลสงกรานต์ ปีนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ส่วนแทรกรายชื่อ ผู้ร่วมถวายหนังสือพระไตรปิฎกฉบับประชาชน 20 เล่ม

เตรียมตอกลังกันกระแทก ครอบตู้พระไตรปิฎก เพื่อป้องกันการกระเทือน ระหว่างการขนส่ง

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์กำลัง ดำเนินการ ห่อตู้ และเตรียมจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ทั้งหลัง ราคาตู้พระไตรปิฎก 8500 บาท สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก ของ มหาจุฬาลงกรณฯ 45 เล่มภาษาไทย ราคา 15000 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่ง)

ขณะนี้ก่ำลังพิมพ์ รายชื่อ ผู้จัดพิมพ์หนังสือบรมพรบรมธรรม

ขณะนี้ คณะพระสงฆ์ ได้มา ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ราคามูลนิธิ 15,000.-

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกแบบลงรักปิดทอง ทั้งหลัง ไปยัง หมู่บ้านบุราสิริ ประชาชื่น-งามวงศ์วาน

ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก, ส่งหนังสือพระไตรปิฎก

ดำเนินการจัดส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎกภาษาไทย ไม้สักทั้งหลัง ถึง #สำนักสงฆ์หลวงปู่เจือ

เตรียมจัดส่งหนังสือ ปราชญ์กล่าวว่า "ชีวิตนี้น้อยนัก" ของสมเด็จพระสังฆราช เล่มละ 15 บาท พร้อมดำเนินการจัดส่ง แล้วครับ

ผนึก ป้ายรายชื่อบรรจุลงใน ชุดพระอภิธรรม คัมภีร์พระอภิธรรม + ตู้บรรจุพระอภิธรรมแบบลงรักปิดทอง

ตู้พระไตรปิฎก ของศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎกไตรลักษณ์ ที่ตอกลังกันกระแทก ทุกหลัง เพื่อไม่ให้กระทบกระเทือน ระหว่างตู้กัน กำลังดำเนินการจัดส่ง ถึงที่หมายเรียบร้อยแล้วครับ

ดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก ใช้หนังสือ บรมพรบรมธรรม โดย สมเด็จพระสังฆราชฯ ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 25 บาท ทำส่วนแทรก ข้อความฟรี

อนุโมทนาบุญ – ในการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะเป็นธรรมทาน ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์ ส่วนแทรกข้อความของผู้ประสงฆ์แทรกข้อความ บันทึกลงในหนังสือ บรมพรบรมธรรม ของสมเด็จพระสังฆราช เล่มละ 25 บาท

ดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ ให้แด่ผู้สั่งพิมพ์ หนังสือ บทสวดมนต์ คู่มืออุบาสกอุบาสิกา (ทำวัตรเช้าเย็น แปลไทย ทั้งหมด)

ดำเนินการจัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ นิมิตกฏแห่งกรรม-ราคา-18-บาท

จัดพิมพ์ งานพระราชทานเพลิงศพฯโดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า "วิธีสร้างบุญบารมี" -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ - 19 บาท

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการบรรจุ คัมภีร์ พระอภิธรรม หรือคัมภีร์ พระมาลัย พร้อม กล่องบรรจุพระคัมภีร์ จัดทำขึ้นด้วยงานฝีมือ ล้วน ทั้งใบ “ประดับ ลวดลายทอง พร้อม กับ ลงรักปิดทอง “

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดทำส่วนแทรก รายชื่อ พร้อม บทสวดมนต์ เพิ่มเติม เพื่อให้ผู้จัดพิมพ์ ดำเนินการ แจก เป็นหนังสือธรรมบรรณาการ แด่ ผู้สนใจ ศึกษา บทสวดมหามงคลหลวง #อุปปาตะสันติ #มหาสันติงหลวง เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ต่อไป

อาจารย์ จากศูนย์การเรียนรู้พิเศษประภาคารปัญญา (เด็กพิเศษ) มาซื้อพระไตรปิฎกภาษาไทย ของ มจร 45 เล่ม 1 ชุด

ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ชุดหนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาฯ ขึ้นบริษัทขนส่ง ทั่วประเทศเรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ ศูนย์ จัดพิมพ์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดพิมพ์ แทรกข้อความ รายนาม ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ แจกเป็นธรรมทาน “วิธีสร้างบุญบารมี โดย สมเด็จพระสังฆราช” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ ธรรมทาน 19 บาท ด้วยระบบ ดิจิตอล ความคมชัดสูง เพื่อจัดส่ง ต่อไป

ตรวจเช็ค หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ 45 เล่ม มจร

จัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมถวายหนังสือ #หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย 91 เล่ม ด้วยระบบเครื่องพิมพ์ ดิจิตอล ความละเอียดสูง เพื่อดำเนินการจัดส่งไปไป ท่านสามารถ ดูรายละเอียดหนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ 91 เล่ม (ชุดใหญ่)

พระไตรปิฎก,หนังสือพระไตรปิฎก, ตู้พระไตรปิฎก

กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมบุญ จัดพิมพ์หนังสือ เป็นธรรมบรรณาการ โดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า "วิธีสร้างบุญบารมี" -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ - 19 บาท

อนุโมทนาบุญ ผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือ บทสวดมหามงคลหลวง อุปปาตะสันติ มหาสันติงหลวง แปลไทย เล่มละ 30 บาท จำนวน 1,651 เล่ม

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก และหนังสือธรรมะ จัดส่งขึ้นบริษัทขนส่งเรียบร้อยแล้ว ครับ

ส่งตู้พระไตรปิฎกและหนังสือไปยัง วัดสะพานสูง ปากเกร็ด เรียบร้อยแล้วครับ

เตรียมจัดส่งขึ้นขนส่งแล้วครับ ตู้พระไตรปิฎกไม้สักลายไม้น้ำตาล

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก เตรียมดำเนินการ ตอกลังกันกระแทก ตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก รุ่น ประตู 3 บาน (ใหม่ล่าสุด) เพื่อจัดส่งขึ้นบริษัทขนส่ง เรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดทำ พระไตรปิฎก ภาษาไทย ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ราคามูลนิธิของมหาจุฬา 15000 บาท และจัดทำรายชื่อ ด้วยระบบพิมพ์ ดิจิตอล ความคมชัดสูง เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

นับเป็นบุญ ที่ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ได้ที่มีโอกาส เป็นสะพานบุญ ในการนำส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎก

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในราคามูลนิธิของมหาจุฬาฯ ราคา 15000 บาท (ไม่รวมค่าจัดส่ง) เรียบร้อยแล้ว

ดำเนินการจัดทำ หนังสือที่ระลึกเนื่องในงานฌาปนกิจ แทรก 1 หน้า โดยใช้หนังสือ บทสวดมนต์ “คู่มืออุบาสกอุบาสิกา” – 30 บาท

ขณะนี้ กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมบุญ จัดพิมพ์หนังสือ เป็นธรรมบรรณาการ โดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า “วิธีสร้างบุญบารมี” -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ – 19 บาท

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมทาน “วิธีสร้างบุญบารมี” โดยสมเด็จพระสังฆราช ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ 19 บาท

ส่งตู้พระไตรปิฎ ไม้สักทรง สี่เหลี่ยมคางหมู ประดับลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก แบบ91 เล่มภาษาไทย ไปยัง #หมู่บ้านพรไพศาล

จัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก พร้อมทั้งตู้พระไตรปิฎกทรงตรง แบบลงรักปิดทองสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย ถึง #วัดดอนตูม จังหวัดราชบุรี เรียบร้อยแล้ว ครับ

พระอาจารย์ท่านเดินทางไกล มาซื้อ ชุดพระคำภีร์บาลีปาฏิโมกข์ พร้อมกล่องบรรจุแบบลงรักปิดทอง ถึงที่ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือธรรมะ เป็น ของที่ระลึก เรื่อง… แม่-พระผู้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูก ราคา 19 บาท โปรโมชั่นพิเศษ สุด : สั่งพิมพ์ เพื่อเผยแพร่เป็นธรรมบรรณาการ 100 เล่มขึ้นไป จัดพิมพ์ข้อความสำหรับแทรกลงในหนังสือ ขาวดำ 1 หน้า ฟรี + จัดส่ง ทั่วประเทศ

ดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์ “ฃีวิตนี้น้อยนัก” เล่มละ 15 บาท เพื่อดำเนินการเตรียมจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก สีเหลือง ลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทยของ มจร ไปยังวัดเรียบร้อยแล้วครับ

เตรียมจัดส่ง หนังสือ “นวโกวาท” ราคามูลนิธิ มหามกุฏฯ 30 บาท เตรียมจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ทั่วประเทศ

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือ ธรรมะ เรื่อง ปราชญ์กล่าวว่า ชีวิตนี้น้อยนัก-ราคาต้นทุนโรงพิมพ์-15บาท

จัดพิมพ์หนังสือที่ระลึกงานศพ ใช้หนังสือเรื่อง คู่มืออุบาสกอุบาสิกา-บทสวดทำวัตรเช้าเย็นแปลไทย -30บาท

จัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก ไปยัง จังหวัดนนทบุรี

ดำเนินการจัดทำหนังสือให้ลูกค้าผู้สั่งพิมพ์หนังสือเป็นธรรมทาน เรื่อง วิธีสร้างบุญบารมี ซึ่งเป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 19 บาท

ลูกค้ามารับ คัมภีร์บาลีปาฏิโมกข์ พร้อม หีบบรรจุคัมภีร์ แบบลงรักปิดทอง พร้อมประดับลวดลายทอง

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก รุ่น เหลืองอัมพัน ประดับจั่วลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก ชุด 91 เล่ม ภาษาไทย ไปยัง วัดพุทธบูชา กุฎิจุ้ยจ้อย (กุฎิเจ้าคุณสุธีหรือเจ้าคุณบุญทัม)

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง #ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก ถึงที่หมายแล้ว ใหม่ล่าสุด + สวยงาม+แข็งแรงและไม่เหมือนใคร ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ รุ่นประตู 3 บาน สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก 91 เล่ม ภาษาไทยแปลพร้อมอรรถกถา

ศูนย์จัดส่ง ตู้ และหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย และ ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก ประดับจั่วลายดอกไม้ พร้อมทำป้ายปิดหน้าตู้ ผู้ถวายหนังสือและตู้พระไตรปิฎก ไปยังที่หมาย เรียบร้อยแล้ว ครับ

พิมพ์หนังสือธรรมะแจกในงานบวช

ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ขอขอบพระคุณ คุณอดิศักดิ์ ศรีสม ที่ได้สั่งพิมพ์ หนังสือบรมพร บรมธรรม

ขณะนี้ พระอาจารย์ มาตรวจต้นฉบับงานพิมพ์ หนังสือใหม่ที่สั่งพิมพ์ทั้งเล่ม โดย พิมพ์หนังสือพิมพ์แจกเป็นธรรมบรรณาการ ของเจ้าภาพ เพื่อนำแจกเป็นธรรมทานต่อไป

จัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ “อภินิหารแห่งบุญ- โดย – หลวงพ่อจรัญฯ”

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกฯ กำลังดำเนินการจัดทำ หนังสือ ที่ระลึก เพื่อแจกในงานบำเพ็ญบุญ หนังสือสวดมนต์ แปลไทย คู่มืออุบาสก อุบาสิกา 30 บาท และจักดำเนินการจัดส่งต่อไป

อนุโมทนาบุญ กับท่านผู้จัดพิมพ์หนังสือ เพื่อแจกเป็นธรรมทาน ” หนังสือ บรมพรบรมธรรม ” ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน เล่มละ 25 บาท (พิมพ์ข้อความแทรก ฟรี)

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือพระไตรปิฎก91เล่มภาษาไทย

ขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ดำเนินการจัดส่ง ตู้และหนังสือพระไตรปิฎก แทนลูกค้า

ขณะนี้ เตรียมห่อบรรจุ คัมภีร์ บาลีปาฏิโมกข์ แบบลงรักปิดทอง พร้อม ชุด คัมภีร์ ใบลานเทศน์มหาชาติ

ส่งหนังสือ “ธรรมะทรงคุณค่า” ถามตอบปัญหาธรรมะ โดย หลวงปู่มั่น เล่มละ 25 บาท ถึงที่หมายปลายทางเรียบร้อยแล้วครับ

พระอาจารย์ หลวงพ่อ เดินทางมาเลือก หนังสือธรรมะ ชุดธรรมโฆษณ์ ของหลวงพ่อพุทธทาส

ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดงาน ประชาสัมพันธ์ หนังสือ พระพุทธศาสนา ในงาน “การประชุมวิชาการประจำปี สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ และศึกษาศาสตร์” มหาวิทยาลัย มหิดล… ที่โรงแรม เดอะรอยัล ริเวอร์ (ติดแม่น้ำเจ้าพระยา) กรุงเทพฯ

เบาะรองนั่งสมาธิ-หุ้มด้วยหนังเทียมทำงานสะอาดง่าย-ราคา950บาท

จัดพิมพ์ข้อความส่วนแทรกรายชื่อ ผู้ร่วม แจกเป็นธรรมทาน “บทสวดมนต์บูชาพระพุทธคุณ ” ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 20 บาท พร้อมดำเนินการจัดส่งต่อไป

เตรียมงานพิมพ์แทรก รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ คู่มือมนุษย์ โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ (ปกแข็ง)

แนะนำกลุ่มตู้พระไตรปิฎกที่ใช้สำหรับหนังสือพระไตรปิฎก91เล่มไทย

ขณะนี้… ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก และ หนังสือพระพุทธศาสนา ไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วม ถวายหนังสือ และ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย พร้อม อรรถกถาแปล เพื่อดำเนินการจัดส่ง ต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือฯไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือแจกเป็นธรรมบรรณาการ เพื่อเผยแพร่พระธรรมคำสอน “ความสุขที่สมบูรณ์” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 19 บาท เตรียมจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ให้ถึงผู้สั่งพิมพ์ต่อไป

กราบอนุโมทนาบุญ ผู้ร่วมบุญสร้างถวาย หนังสือและตู้พระไตรปิฎก และขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ได้นำตู้และหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทย ไปยัง วัดอุดมสิทธิกุล อ.บางเลน จ.นครปฐม เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ละลึกเรื่อง ยาระงับสรรพโรค เล่มละ 20 บาท เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ “วิธีสร้างบุญบารมี” โดย สมเด็จพระสังฆราชฯ – 19 บาท เพื่อทำเป็นหนังสือที่ระลึกในงานฌาปนกิจฯ และเตรียมดำเนินการจัดส่งต่อไป

กลุ่มตัวอย่างตู้พระไตรปิฎกสำหรับหนังสือพระไตรปิำก45 เล่มไทย

เตรียมจัดส่งตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นรถกระบะ เพื่อนำส่งขึ้นบริษัทขนส่งเรียบร้อยแล้ว วันนี้ครับ

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้ และหนังสือ พระไตรปิฎก 45 เล่ม แปลไทย ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถึง …วัดจากแดง ต.ทรงคนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ เรียบร้อยแล้ว

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ ถ้ารู้จักพระพุทธศาสนาความสุขต้องมาทันที-ราคา20บาท โดย พระพรหมคุณาภรณ์ฯ

ลูกค้ามารับ #ตู้พระไตรปิฎก แบบ ไม้สักแท้ทั้งหลัง พร้อมทั้ง #หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในราคามูลนิธิ ที่ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ด้วยตนเอง

ขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทรงป้าน-สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก45เล่ม ราคา11000บาท สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

สถิติ

เปิดเว็บ15/04/2010
อัพเดท13/11/2024
ผู้เข้าชม11,381,743
เปิดเพจ17,031,677
สินค้าทั้งหมด2,001

ความสำคัญและการรักษาพระไตรปิฎก

ความสำคัญและการรักษาพระไตรปิฎก
ความสำคัญและการรักษาพระไตรปิฎก





พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก 

(ปัจจุบันดำรง สมณศักดิ์ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(ป. อ. ปยุตฺโต) )
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 17-44

ก่อนจะพูดถึงพระไตรปิฎก ควรทำความเข้าใจกันก่อนว่า พระพุทธศาสนาคืออะไร 
พระพุทธศาสนา ก็คือคำสอนของพระพุทธเจ้า การที่เรานับถือพระพุทธศาสนา ก็คือนับถือคำสอนของพระพุทธเจ้า 
ขอให้นึกย้อนหลังไปถึงสมัยพุทธกาล เมื่อพระพุทธเจ้าออกประกาศพระศาสนา ยังไม่มีพระพุทธศาสนา ท่านทั้งหลายที่มาเป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้า ก็คือต้องการมาฟังคำสอนของพระพุทธเจ้า เพราะเหตุที่ต้องการฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ก็จึงเป็นผู้ฟังที่เราเรียกว่าเป็นสาวก คำว่าสาวกนั้น ก็แปลว่าผู้ฟังนั่นเอง 
เมื่อฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่เรียกว่าพระพุทธศาสนาแล้ว ก็ไปปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระองค์ การฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วปฏิบัติตามนั้น ก็เป็นพระพุทธศาสนาอีก พระพุทธศาสนาจึงมีความหมายทั้งเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า และการปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น 

ถึงความหมายขยายไกล
ก็จับหัวใจพระพุทธศาสนาไว้ให้ได้

ต่อมาก็มีการจัดตั้งเป็นชุมชน เป็นสถาบัน เป็นองค์กร หมายความว่า คนมารวมกันเรียน มาฟังคำสั่งสอน ขยายออกไป เรียกว่าเล่าเรียนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วก็ปฏิบัติ ทำกันอย่างเป็นจริงเป็นจัง เป็นจำนวนมาก ก็ต้องมีการจัดสรรดูแลต่างๆ เพื่อให้คนทั้งหลายที่มาอยู่รวมกันเพื่อวัตถุประสงค์อย่างนี้ ได้เรียนได้ฟัง แล้วก็ได้ปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างได้ผล การจัดสรรดูแลให้มีการเล่าเรียน สดับฟัง และปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็เรียกว่าเป็นพระพุทธศาสนาด้วย ความหมายของพระพุทธศาสนาก็เลยกว้างขวางออกไป 

พอถึงขั้นจัดตั้ง การดูแลให้มีการเล่าเรียนและปฏิบัติ ก็เลยรวมไปถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นมาเป็นชุมชน เป็นองค์กร เป็นสถาบันหรืออะไรๆ ที่กว้างขวางออกไป ความหมายของพระพุทธศาสนาก็ขยายออกไป เป็นอย่างที่เราเข้าใจในปัจจุบันนี้ จนกระทั่งไปๆ มาๆ ก็เลยลืมไปเลย ไม่รู้ว่าตัวพระพุทธศาสนาคืออะไร อยู่ตรงไหน ถ้าไม่ทบทวนกันไว้ให้ดี ต่อไปก็จับไม่ถูก ว่าที่แท้นั้นพระพุทธศาสนาก็อยู่ที่จุดเริ่ม คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเท่านั้นเอง
เพราะฉะนั้น จะต้องจับตัวพระพุทธศาสนาไว้ ให้อยู่ที่คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าให้ได้ ไม่ว่าอะไรก็ตาม ถ้ามีการปฏิบัติ มีการเชื่อถือกันไปมากมายใหญ่โต แต่เสร็จแล้วไม่ใช่คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ก็ไม่ใช่พระพุทธศาสนา 
ที่ว่ามานี้เป็นเรื่องแรกที่ต้องทำความเข้าใจก่อน เป็นอันว่า คนที่มาหาพระพุทธศาสนา ก็คือต้องการคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เราไม่เอาอะไรอย่างอื่น เราไม่ได้ต้องการคำสั่งสอนของคนอื่น เป็นต้น
เมื่อเราต้องการคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ถ้าเป็นสมัยพุทธกาล จะทำอย่างไร เราก็ไปฟังพระพุทธเจ้า ถ้าอยู่ในวัดเดียวกับพระองค์ ก็ไปหาไปเฝ้าพระองค์ ไปที่ธรรมสภาที่พระพุทธเจ้าตรัสแสดงธรรม ไปฟังพระองค์ หรือซักถามพระองค์ ทูลถามปัญหาต่าง ๆ ให้พระองค์ตรัสตอบให้ ถ้าอยู่ไกลก็เดินทางมา บางคนมาจากต่างประเทศ ขี่ม้า หรือว่านั่งเกวียน เดินทางกันมาเป็นวัน เป็นเดือน ก็เพียงเพื่อมาฟังพระพุทธเจ้าสั่งสอน

จุดเริ่มความคิดรวบรวมรักษาพระพุทธศาสนา 
ต้นแบบของการสังคายนา

ต่อมา พระพุทธเจ้าปรินิพพาน พระองค์จากเราไปแล้ว ถ้าเราต้องการพระพุทธศาสนา คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เราจะเอาจากที่ไหน พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว ถ้าไม่มีการรวบรวมบันทึกคำสั่งสอนของพระองค์ไว้ พระพุทธศาสนาก็เป็นอันว่าหมดสิ้น 
ฉะนั้น เรื่องต่อไปนี้สำคัญมาก คือการรวบรวมและบันทึกจารึกคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ ต่อจากนั้นก็นำสืบทอดกันมาจนถึงยุคปัจจุบัน ว่าทำอย่างไร พวกเราเวลานี้จึงโชคดีที่มีโอกาสรู้จักพระพุทธศาสนา
ขอย้อนไปเล่าว่า แม้แต่เมื่อพระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ พระพุทธเจ้าเองและพระสาวกองค์สำคัญ โดยเฉพาะพระสารีบุตร ก็ได้คำนึงเรื่องนี้ไว้แล้วว่าเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว ถ้าไม่มีการรวบรวมประมวลคำสอนของพระองค์ไว้ พระพุทธศาสนาก็จะสูญสิ้น ดังนั้น ทั้งๆที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ก็ได้มีการริเริ่ม เป็นการนำทางไว้ให้เป็นตัวอย่างแก่คนรุ่นหลังว่า ให้มีการรวบรวมคำสอนของพระองค์ ซึ่งเราเรียกว่าสังคายนา
สังคายนา ก็คือการรวบรวมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ แล้วทรงจำไว้เป็นแบบแผนอันเดียวกัน คือรวบรวมไว้เป็นหลัก และทรงจำถ่ายทอดสืบมาเป็นอย่างเดียวกัน ตัวอย่างในสมัยพุทธกาลก็มี เป็นพระสูตรหนึ่งเลย
ตอนนั้นก็ปลายพุทธกาลแล้ว นิครนถนาฏบุตรผู้เป็นศาสดาของศาสนาเชนได้สิ้นชีวิตลง สาวกของท่านไม่ได้รวบรวมคำสอนไว้ และไม่ได้ตกลงกันไว้ให้ชัดเจน ปรากฏว่าเมื่อศาสดาของศาสนาเชนสิ้นชีวิตไปแล้ว สาวกลูกศิษย์ลูกหาก็แตกแยกทะเลาะวิวาทกันว่า ศาสดาของตนสอนว่าอย่างไร
ครั้งนั้น ท่านพระจุนทเถระได้นำข่าวนี้มากราบทูลแด่พระพุทธเจ้า และพระองค์ได้ตรัสแนะนำให้พระสงฆ์ทั้งปวง ร่วมกันสังคายนาธรรมทั้งหลายไว้เพื่อให้พระศาสนาดำรงอยู่ยั่งยืนเพื่อประโยชน์สุขแก่พหูชน (ที.ปา.๑๑/๑๐๘/๑๓๙)
เวลานั้น พระสารีบุตรอัครสาวกยังมีชีวิตอยู่ คราวหนึ่งท่านปรารภเรื่องนี้แล้วก็กล่าวว่า ปัญหาของศาสนาเชนนั้น เกิดขึ้นเพราะว่าไม่ได้รวบรวมร้อยกรองคำสอนไว้ เพราะฉะนั้นพระสาวกทั้งหลายทั้งปวงของพระพุทธเจ้าของเรานี้ ควรจะได้ทำการสังคายนา คือรวบรวมร้อยกรองประมวลคำสอนของพระองค์ไว้ให้เป็นหลักเป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน 
เมื่อปรารภเช่นนี้แล้วพระสารีบุตรก็ได้แสดงวิธีการสังคายนาไว้เป็นตัวอย่าง โดยท่านได้รวบรวมคำสอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้เป็นข้อธรรมต่างๆ มาแสดงตามลำดับหมวด ตั้งแต่หมวดหนึ่ง ไปจนถึงหมวดสิบ คือเป็นธรรมหมวด ๑ ธรรมหมวด ๒ ธรรมหมวด ๓ ไปจนถึงธรรมหมวด ๑๐ เมื่อพระสารีบุตรแสดงจบแล้ว พระพุทธเจ้าก็ได้ประทานสาธุการ (ที.ปา.๑๑/๒๒๕-๓๖๓/๒๒๔-๒๘๖)
หลักธรรมที่พระสารีบุตรได้แสดงไว้นี้ จัดเป็นพระสูตรหนึ่งเรียกว่าสังคีติสูตร แปลง่ายๆ ว่าพระสูตรว่าด้วยการสังคายนา หรือสังคีติ 
นี้เป็นตัวอย่างที่พระอัครสาวกสูงสุด คือพระสารีบุตรได้กระทำไว้ แต่ท่านพระสารีบุตรเอง ได้ปรินิพพานก่อนพระพุทธเจ้า เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วก็เป็นอันว่าพระสารีบุตรไม่ได้อยู่ที่จะทำงานนี้ต่อ แต่ก็มีพระสาวกผู้ใหญ่ที่ได้ดำเนินงานนี้ต่อมาโดยไม่ได้ละทิ้ง กล่าวคือพระมหากัสสปเถระ ซึ่งตอนที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานนั้น เป็นพระสาวกผู้ใหญ่ มีอายุพรรษามากที่สุด


เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพาน งานรักษาพระพุทธศาสนาก็เริ่มทันที
พระมหากัสสปเถระนั้นทราบข่าวปรินิพพานของพระพุทธเจ้า เมื่อพระองค์ปรินิพพานแล้วได้ ๗ วัน ขณะที่ท่านกำลังเดินทางอยู่พร้อมด้วยหมู่ลูกศิษย์จำนวนมาก 
เมื่อได้ทราบข่าวนั้น ลูกศิษย์ของพระมหากัสสปะจำนวนมากซึ่งยังเป็นปุถุชนอยู่ ก็ได้ร้องไห้คร่ำครวญกัน ณ ที่นั้น ก็มีพระภิกษุที่บวชเมื่อแก่องค์หนึ่ง ชื่อว่าสุภัททะ ได้พูดขึ้นมาว่า ท่านทั้งหลายจะร้องไห้กันไปทำไม พระพุทธเจ้าปรินิพพานนี้ก็ดีไปอย่าง คือว่า ตอนที่พระองค์ยังอยู่นั้น พระองค์ก็คอยดูแล คอยกวดขัน ตรัสห้ามไม่ให้ทำสิ่งโน้นสิ่งนี้ แนะนำให้ทำสิ่งนั้นสิ่งนี้ พวกเราก็ลำบาก ต้องคอยระมัดระวังตัว ทีนี้ พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้วนี่ พวกเราคงจะทำอะไรได้ตามชอบใจ ชอบอะไรก็ทำ ไม่ชอบอะไรก็ไม่ทำ 
พระมหากัสสปเถระได้ฟังคำนี้แล้ว ก็นึกคิดอยู่ในใจ แต่ไม่ได้กล่าวออกมา คือท่านนึกคิดว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปใหม่ๆ แค่นี้ ก็ยังมีคนคิดที่จะทำให้เกิดความแปรปรวน หรือประพฤติปฏิบัติให้วิปริตไปจากพระธรรมวินัย ท่านก็เลยคิดว่าควรจะทำการสังคายนา 
ท่านวางแผนไว้ในใจว่าจะชักชวนพระเถระผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นพระอรหันต์ทั้งหลายที่มีอยู่สมัยนั้น ซึ่งล้วนทันเห็นพระพุทธเจ้า ได้ฟังคำสอนของพระองค์มาโดยตรงเป็นผู้รู้คำสอนของพระพุทธเจ้า และได้อยู่ในหมู่สาวกที่เคยสนทนาตรวจสอบกันอยู่เสมอ รู้ว่าอะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า จะชวนให้มาประชุมกัน มาช่วยกันแสดง ถ่ายทอด รวบรวม ประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วตกลงวางมติไว้ ก็คือคิดว่าจะทำสังคายนา 
แต่เฉพาะเวลานั้น ท่านต้องเดินทางไปที่ปรินิพพาน และจัดการเรื่องการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระให้เสร็จเสียก่อน ท่านจึงเดินทางไปยังเมืองกุสินารา แล้วก็เป็นประธานในการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ในพระราชูปถัมภ์ของกษัตริย์มัลละทั้งหลาย 
เมื่องานจัดการเรื่องพระพุทธสรีระเสร็จแล้ว พระมหากัสสปเถระก็ดำเนินงานตามที่ท่านได้คิดไว้ คือได้ชักชวนนัดหมายกับพระอรหันต์ผู้ใหญ่ เพื่อจะทำการสังคายนา 
ต่อจากนั้นก็เป็นเรื่องของงานใหญ่แห่งการสังคายนา ซึ่งมีการเตรียมการถึง ๓ เดือน ซึ่งได้ที่ประชุมที่ถ้ำสัตตบรรณคูหา ณ ภูเขาชื่อเวภาระ เมืองราชคฤห์ พระเจ้าแผ่นดินตอนนั้นทรงพระนามว่าอชาตศัตรู ซึ่งได้ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์การสังคายนา ตั้งแต่การจัดเตรียมสถานที่
เมื่อจะทำสังคายนา ก็มีการคัดเลือกตัวบุคคลที่จะเข้าร่วมประชุม จึงคัดเลือกได้พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ ที่เห็นร่วมกันว่า เป็นผู้มีคุณสมบัติ มีความรู้ความสามารถ เช่น เป็นหัวหน้าหมู่คณะ เป็นผู้ได้จำคำสอนของพระพุทธเจ้าไว้ได้มากและชัดเจน ในการประชุมนี้ พระมหากัสสปเถระทำหน้าที่เป็นประธาน โดยเป็นผู้ซักถาม 
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้านั้น พระพุทธเจ้าเองทรงแบ่งไว้เป็น ๒ ส่วน เรียกว่าธรรมส่วนหนึ่ง และวินัยส่วนหนึ่ง
ธรรม คือหลักคำสอนว่าด้วยความจริงของสิ่งทั้งหลาย พร้อมทั้งข้อประพฤติปฏิบัติที่พระพุทธเจ้าทรงแนะนำตรัสแสดงไว้โดยสอดคล้องกับความจริงนั้น
ส่วนวินัย คือประมวลพุทธบัญญัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ต่างๆ ในการเป็นอยู่ หรือกฎระเบียบต่างๆ ของสงฆ์ ที่จะดำรงไว้ซึ่งภาวะอันเกื้อหนุนให้ภิกษุและภิกษุณีประพฤติปฏิบัติตามธรรมนั้นอย่างได้ผลดี และรักษาพระศาสนาไว้ได้
ด้วยเหตุนี้จึงเรียกพระพุทธศาสนา ด้วยคำสั้นๆ ว่า ธรรมวินัย
ฝ่ายธรรมนั้น ผู้ที่ได้ฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอยู่ตลอดเวลา เพราะติดตามพระองค์ไป อยู่ใกล้ชิด เป็นผู้อุปัฏฐากของพระองค์ ก็คือพระอานนท์ ที่ประชุมก็ให้พระอานนท์เป็นผู้นำเอาธรรมมาแสดงแก่ที่ประชุม หรือเป็นหลักของที่ประชุมในด้านธรรม
ส่วนด้านวินัย พระพุทธเจ้าทรงยกย่องพระอุบาลีไว้ว่าเป็นเอตทัคคะ ที่ประชุมก็คัดเลือกพระอุบาลีให้มาเป็นผู้นำในด้านการวิสัชนาเรื่องของวินัย
ทั้งหมดนี้เราก็เรียกกันง่ายๆ ว่า สังคายนาพระธรรมวินัย
เมื่อได้ตัวบุคคลเรียบร้อยแล้ว ก็เริ่มประชุมกัน อย่างที่กล่าวแล้วว่า ที่ถ้ำสัตตบรรณคูหา โดยมีพระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ เริ่มการประชุมเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วได้ ๓ เดือน การประชุมดำเนินอยู่เป็นเวลา ๗ เดือน จึงเสร็จสิ้น แสดงว่าเป็นงานที่ใหญ่มาก
เรื่องการทำสังคายนาครั้งแรกนี้ ท่านเล่าไว้ในพระไตรปิฎกด้วย ผู้ต้องการความละเอียดสามารถไปอ่านได้เอง (วินย.๗/๖๑๔-๖๒๘/๓๗๙-๓๙๔)


เมื่อสังคายนาพระธรรมวินัย
ก็ทำให้พระพุทธศาสนาเถรวาทเกิดขึ้นมา

วิธีการสังคายนา ที่เรียกว่าวิธีการร้อยกรองหรือรวบรวมพระธรรมวินัย หรือประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ก็คือ นำเอาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามาแสดงในที่ประชุม แล้วก็มีการซักถามกัน จนกระทั่งที่ประชุมลงมติว่าเป็นอย่างนั้นแน่นอน เมื่อได้มติร่วมกันแล้วในเรื่องใด ก็ให้สวดพร้อมกัน 
การสวดพร้อมกันนั้น แสดงถึงการลงมติร่วมกันด้วย และเป็นการทรงจำกันไว้อย่างนั้นเป็นแบบแผนต่อไปด้วยหมายความว่า ตั้งแต่นั้นไป คำสอนตรงนั้นก็จะทรงจำไว้อย่างนั้น เมื่อจบเรื่องหนึ่งก็สวดพร้อมกันครั้งหนึ่ง อย่างนี้เรื่อยไป ใช้เวลาถึง ๗ เดือน 
การสวดพร้อมกันนั้นเรียกว่า สังคายนา เพราะคำว่า สังคายนา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สังคีติ” แปลว่า สวดพร้อมกันคายนา หรือคีติ (เทียบกับคีต ในคำว่าสังคีต) แปลว่าการสวด สํ แปลว่าพร้อมกันก็คือสวดพร้อมกัน สังคายนา ถ้าเป็นชาวบ้านก็ร้องเพลงพร้อมกัน
เป็นอันว่า ผ่านเวลาไป ๗ เดือน พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ ก็ได้ทำสังคายนา ประมวลคำสอนของพระพุทธเจ้ามาเป็นมติร่วมกันได้เรียบร้อย คำสอนที่รวบรวมประมวลไว้นี้ เป็นที่มั่นใจ เพราะทำโดยท่านที่ได้ทันรู้ทันเห็นทันเฝ้าทันฟังจากพระพุทธเจ้าโดยตรง 
คำสอนที่ลงมติกันไว้อย่างนี้ซึ่งเรานับถือกันมา เรียกว่า เถรวาท แปลว่า คำสอนที่วางไว้เป็นหลักการของพระเถระ คำว่า เถระ ในที่นี้ หมายถึงพระเถระผู้ประชุมทำสังคายนาครั้งที่ ๑ ที่ว่าไปแล้วนี้
พระพุทธศาสนาซึ่งถือตามหลักที่ได้สังคายนาครั้งแรกดังกล่าวมานี้ เรียกว่าเถรวาท หมายความว่า คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า คือพระธรรมวินัย ทั้งถ้อยคำและเนื้อความอย่างไรที่ท่านสังคายนากันไว้ ก็ทรงจำกันมาอย่างนั้น ถือตามนั้นโดยเคร่งครัด เพราะฉะนั้นจึงต้องรักษาแม้แต่ตัวภาษาเดิมด้วย หมายความว่ารักษาของแท้ของจริง ภาษาที่ใช้รักษาพระธรรมวินัยไว้นี้ เรียกว่าภาษาบาลี เพราะฉะนั้น คำสอนของเถรวาทก็รักษาไว้ในภาษาบาลีตามเดิมคงไว้อย่างที่ท่านสังคายนา 


พระธรรมวินัยสำคัญเพียงใด
จึงทำให้ต้องมีการสังคายนา

ธรรมวินัย หรือหลักคำสอนที่สังคายนาไว้นี่แหละ เป็นตัวพระพุทธศาสนา เพราะได้บอกแล้วว่า พระพุทธศาสนา ก็คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เรานับถือพระพุทธศาสนา ก็คือเรานับถือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วปฏิบัติไปตามคำสั่งสอนนั้น พร้อมทั้งดูแลจัดสรรทำการต่างๆ เพื่อให้ชาวพุทธทั้งหลายได้เรียนรู้ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้านั้น 
การปฏิบัติอย่างนี้ก็เป็นไปตามที่พระพุทธเจ้าเองได้ตรัสไว้ คือเมื่อพระพุทธเจ้าจะปรินิพพาน พระองค์ได้ตรัสไว้เองว่า พระองค์ไม่ได้ทรงแต่งตั้งพระภิกษุสาวกองค์ใดให้เป็นศาสดาแทนพระองค์ แต่พระองค์ตรัสไว้เป็นภาษาบาลีว่า 
โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา. (ที.ม.๑๐/๑๔๑/๑๗๘)
แปลว่า : ดูกรอานนท์ ธรรมแลวินัยใด ที่เราได้แสดงแล้ว และบัญญัติแล้ว แก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้น จักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย ในเมื่อเราล่วงลับไป 
หมายความว่าพระพุทธเจ้าตรัสให้พระธรรมวินัย คือคำสั่งสอนของพระองค์นี้ เป็นศาสดาแทนพระองค์
เพราะฉะนั้น การสังคายนาจึงถือว่าเป็นการปฏิบัติตามพุทธพจน์ ที่เหมือนกับได้ทรงฝากฝังสั่งเสียไว้ว่า ให้พระธรรมวินัย คือคำสั่งสอนของพระองค์เป็นศาสดาแทนพระองค์ด้วย 
เมื่อรู้อย่างนี้แล้ว ถ้าเราเคารพพระพุทธเจ้า เราก็ต้องรักษาพระธรรมวินัย ไว้ให้ดี เพราะการรักษาพระธรรมวินัยที่สังคายนาไว้ ก็คือรักษาพระศาสดาของเราไว้ คือรักษาพระพุทธเจ้าไว้นั่นเอง

พระธรรมวินัย มาอย่างไรจึงเป็นพระไตรปิฎก
ขอกล่าวต่อไปว่า การสังคายนาที่บอกเมื่อกี้ว่าเป็นการประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ หรือประมวลพระธรรมวินัยไว้นั้น นอกจากประมวลคือรวมมาแล้ว ก็มีการจัดหมวดหมู่ไป ด้วย 
การจัดหมวดหมู่นั้นก็เพื่อให้ทรงจำได้สะดวก และง่ายต่อการแบ่งหน้าที่กันในการรักษา กับทั้งเกื้อกูลต่อการศึกษาค้นคว้าด้วย
นอกจากแบ่งโดยส่วนใหญ่เป็นธรรมกับวินัยแล้ว ก็ยังมีการจัดแยกซอยย่อยออกไปอีก
ธรรมนั้น แยกย่อยออกไปเป็น ๒ ส่วน เพราะธรรมนั้นมากมายเหลือเกิน ต่างจากวินัยซึ่งมีขอบเขตแคบกว่า เพราะวินัยเป็นเรื่องของบทบัญญัติเกี่ยวกับการรักษาสังฆะ คือคณะสงฆ์ไว้ เพื่อให้ชุมชนแห่งพระภิกษุ และพระภิกษุณี ดำรงอยู่ด้วยดี แต่ธรรมเป็นคำสอนที่ครอบคลุมพระพุทธศาสนาทั้งหมด สำหรับพุทธบริษัททั้ง ๔ 
เนื่องจากธรรมมีมากมาย จึงมีการแบ่งหมวดหมู่ออกไปอีก โดยแยกเป็นว่า
๑. ธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสแสดงไปตามกาลเทศะ ตามเรื่องราวที่เกิดขึ้น คือเสด็จไปพบคนโน้น เขาทูลถามเรื่องนี้ พระองค์ก็ตรัสตอบไป เสด็จไปพบชาวนา ทรงสนทนาโต้ตอบกับเขา จนจบไป ก็เป็นเรื่องหนึ่ง เสด็จไปเจอกับพราหมณ์ ได้สนทนากับเขา หรือตอบคำถามของเขา ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง ไปเจอกษัตริย์หรือเจ้าชาย ก็สนทนากันอีกเรื่องหนึ่ง ธรรมที่ตรัสแสดงแก่บุคคลต่างๆ ในสถานการณ์ต่างๆ แต่ละเรื่องๆ จบไปเรื่องหนึ่งๆ นี่ เรียกว่าสูตรหนึ่งๆ
ธรรมมาในรูปนี้มากมาย เรื่องหนึ่งๆ ก็มีสาระไปอย่างหนึ่ง ตามแต่ว่าพระองค์ได้ตรัสแก่บุคคลประเภทใด เพื่อทรงชี้แจงอธิบายหรือตอบปัญหา เรื่องไหนตรงกับพื้นเพภูมิหลังความสนใจ และระดับความรู้ความเข้าใจหรือระดับสติปัญญาของเขา ฉะนั้นธรรมแบบนี้จึงเห็นได้ว่ามีเนื้อหาแตกต่างกันมาก พอจบเรื่องนี้ที่ตรัสแก่ชาวนา ซึ่งเป็นธรรมระดับหนึ่ง เพียงเปลี่ยนไปอีกเรื่องหนึ่งเท่านั้น ก็เป็นธรรมคนละด้านคนละระดับกันเลย 
ตัวอย่างเช่นตรัสกับชาวนา เป็นเรื่องการทำมาหากิน หรือเรื่องการหว่านพืช ก็อาจจะตรัสเกี่ยวกับความขยันหมั่นเพียร หรืออาจจะเทียบกับการปฏิบัติของพระภิกษุก็สุดแต่ แต่พอไปอีกเรื่องหนึ่ง พระองค์สนทนากับพราหมณ์ ก็อาจจะตรัสเรื่องวรรณะ หรือเรื่องไตรเพทของพราหมณ์ หรือเรื่องการบูชายัญ ดังนี้เป็นต้น 
ธรรมที่ตรัสแบบนี้ พอเปลี่ยนเรื่องไป เนื้อหาก็เปลี่ยนไป ห่างกันมาก ฉะนั้นเนื้อหาสาระจึงไม่ไปตามลำดับ แต่ละเรื่องๆ นั้นก็เรียกว่าสูตรหนึ่งๆ 
ธรรมที่ตรัสแสดงแบบนี้ คือตรัสแสดงแก่บุคคล โดยปรารภเรื่องราว เหตุการณ์ สถานการณ์คนละอย่างๆ นี้ รวมไว้ด้วยกัน จัดไว้พวกหนึ่ง เรียกว่า พระสูตร
๒. ธรรมอีกประเภทหนึ่ง คือธรรมที่แสดงไปตามเนื้อหาไม่เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือเหตุการณ์ ไม่คำนึงว่าใครจะฟังทั้งสิ้น เอาแต่เนื้อหาเป็นหลัก อย่างที่เรียกกันในปัจจุบันว่าเป็นวิชาการล้วนๆ คือยกหัวข้อธรรมอะไรขึ้นมา ก็อธิบายให้ชัดเจนไปเลย เช่นยกเรื่องขันธ์ ๕ มา ก็อธิบายไปว่าขันธ์ ๕ นั้น คืออะไร แบ่งออกเป็นอะไรบ้าง แต่ละอย่างนั้นเป็นอย่างไรๆ อธิบายไปจนจบเรื่องขันธ์ ๕ หรือว่าเรื่องปฏิจจสมุปบาทก็อธิบายไปในแง่ด้านต่างๆ จนกระทั่งจบเรื่องปฏิจจสมุปบาทนั้น ธรรมที่แสดงเอาเนื้อหาเป็นหลักอย่างนี้ ก็จัดเป็นประเภทหนึ่ง เรียกว่า พระอภิธรรม ส่วนวินัยก็ยังคงเป็นวินัยอยู่เท่านั้น เรียกกันว่า พระวินัย 
ตอนนี้จะเห็นว่า เมื่อแยกธรรมเป็น ๒ ส่วน คือเป็นพระสูตรกับอภิธรรม แล้วมีวินัยเดิมอีกหนึ่ง ธรรมเป็น ๒ วินัย ๑ รวมกันก็เป็น ๓ ถึงตอนนี้ก็เกิดเป็นการจัดหมวดหมู่พระธรรมวินัยอีกแบบหนึ่ง เป็นปิฎก ๓ ที่เรียกว่า พระไตรปิฎก

ปิฎก แปลว่าตะกร้า หรือกระจาด โดยมีความหมายเชิงเปรียบเทียบว่าเป็นที่รวบรวม เพราะกระจาด ตะกร้า กระบุง บุ้งกี๋นั้น เป็นที่รวบรวมทัพสัมภาระ ในที่นี้ก็คือรวบรวมจัดคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้เป็นประเภทๆ เป็นหมวดๆ จึงเป็น ๓ ปิฎก เรียกว่าไตรปิฎก คือ
๑. พระวินัยปิฎก เป็นที่รวบรวมพระวินัย ซึ่งประกอบด้วยกฎเกณฑ์กติกา สำหรับรักษาภิกษุสงฆ์ และภิกษุณีสงฆ์ไว้
๒. พระสุตตันปิฎก เป็นที่รวบรวมพระสูตรทั้งหลาย คือธรรมที่ตรัสแสดงแก่บุคคล หรือปรารภเหตุการณ์หรือสถานการณ์อะไรบางอย่าง เป็นแต่ละเรื่องๆ ไป
๓. พระอภิธรรมปิฎก เป็นที่รวบรวมคำอธิบายหลักคำสอน ที่เป็นเนื้อหาสาระ เป็นหลักการแท้ๆ หรือเป็นวิชาการล้วนๆ 

พระไตรปิฎกสำคัญเพียงใด
เมื่อพูดมาถึงขั้นนี้ก็รวมความได้ว่า พระไตรปิฎก ก็คือที่รวบรวมพระธรรมวินัย คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่าเป็นพระพุทธศาสนา ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่า นี่แหละคือศาสดาของชาวพุทธทั้งหลาย เราจึงได้ถือกันมาเป็นหลักว่า จะต้องรักษา แล้วก็เล่าเรียน และปฏิบัติตามหลักคำสอนในพระไตรปิฎกนี้ 
พร้อมกันนั้นก็ใช้คำสั่งสอน คือพระธรรมวินัยในพระไตรปิฎกนี้แหละ เป็นหลักเป็นเกณฑ์มาตรฐานในการตัดสินความเชื่อถือและการประพฤติปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนทั้งหลายว่า เป็นพระพุทธศาสนาหรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่ได้รวบรวมประมวลสังคายนาและรักษาสืบต่อไว้ในพระไตรปิฎก หรือคลาดเคลื่อนจากนั้น ก็ไม่ใช่พระพุทธศาสนา ถ้าถูกต้องตามนั้นก็เป็นพระพุทธศาสนา 
สิ่งที่เราเล่าเรียนปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็นด้านวินัยของพระภิกษุสงฆ์ เช่น การบวช การมีโบสถ์ การสร้างกุฏิ การกรานกฐิน และสังฆกรรมต่างๆ การใช้ไตรจีวรของพระภิกษุ การที่พระภิกษุทำอะไรได้หรือไม่ได้ การที่จะต้องอาบัติต่างๆ มีปาราชิกเป็นต้น หรือการที่ชาวบ้านจะทำบุญทำทาน คำว่าทานก็ดี คำว่าบุญก็ดี เรื่องศีล เรื่องสมาธิ เรื่องปัญญาไตรสิกขา ภาวนาต่างๆ ขันธ์ ๕ ไตรลักษณ์ อริยสัจจ์ ตลอดถึงพระนิพพาน ก็ล้วนมาจากพระไตรปิฎกทั้งนั้น ถ้าไม่มีพระไตรปิฎก เราก็ไม่รู้จักถ้อยคำเหล่านี้เลย และพระภิกษุก็ไม่มีมาตรฐานที่จะวัดว่าตัวประพฤติปฏิบัติอย่างไรถูก อย่างไรผิด อะไรเป็นอาบัติปาราชิก อะไรเป็นอาบัติสังฆาทิเสส ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ 
ไม่มีพระไตรปิฎกเสียอย่างเดียว เป็นอันหมดสิ้น คือหมดสิ้นพระพุทธศาสนานั่นเอง 
เป็นอันว่าเมื่อพระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ เราก็ฟังคำสั่งสอนของพระองค์จากพระพุทธเจ้าโดยตรง แต่เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว เราต้องการพระพุทธศาสนา คือ ต้องการคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เราจะไปเอาจากที่ไหน ก็ต้องไปเอาจากที่ท่านรวบรวมประมวลไว้ ซึ่งถ่ายทอดสืบต่อกันมาในพระไตรปิฎก เพราะพระไตรปิฎกเป็นที่รักษาสืบทอดพระพุทธศาสนาไว้ หรือรักษาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้

พระไตรปิฎกยุคท่องจำ แม่นยำแค่ไหน
ทีนี้การรักษาสืบต่อพระไตรปิฎกนั้นท่านทำกันมาอย่างไร เรื่องนี้ต้องแบ่งเป็น ๒ ยุค คือ
๑. ยุคที่สืบต่อมาด้วยการทรงจำด้วยปากเปล่า เรียกว่ามุขปาฐะหรือมุขปาฐ และ
๒. ยุคที่ได้จารึกเป็นตัวอักษร เช่นในใบลาน เป็นต้น 
ช่วงแรก เป็นยุคของการรักษาไว้ด้วยการทรงจำ โดยสวด หรือสาธยาย แต่ก่อนนี้อาตมาเองก็เคยสงสัย เหมือนหลายคนสงสัยว่า เมื่อรักษาด้วยการทรงจำ ก็น่ากลัวว่าจะมีการคลาดเคลื่อนเลอะเลือนหลงลืมไป แต่เมื่อเวลาผ่านมา ได้พิจารณาไตร่ตรอง และได้เห็นหลักฐานและหลักการต่างๆ ก็กลายเป็นว่า การรักษาด้วยการท่อง โดยสวดแล้วทรงจำไว้นั่นแหละ เป็นวิธีที่แม่นยำยิ่งกว่ายุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษร 
ที่ว่าอย่างนั้นเพราะอะไร? เพราะว่าการท่อง ที่จะทรงจำพระไตรปิฎก หรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่า ธรรมวินัยนั้น ท่านทำด้วยวิธีสวดพร้อมกัน คือ คล้ายกับที่เราสวดมนต์กันทุกวันนี้แหละ เวลาสวดมนต์พร้อมกัน เช่นสวดกัน ๑๐ คน ๒๐ คน ๕๐ คน ๑๐๐ คนนั้น จะต้องสวดตรงกันหมดทุกถ้อยคำจะตกหล่นตัดขาดหายไปก็ไม่ได้ จะเพิ่มแม้คำเดียวก็ไม่ได้ เพราะจะขัดกัน ดีไม่ดีก็สวดล้มไปเลย 
เพราะฉะนั้น การที่จะสวดโดยคนจำนวนมากๆ ให้เป็นไปด้วยดี ให้สอด คล้องกลมกลืนกัน ก็จะต้องสวดเหมือนกันหมด ท่านจึงรักษาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ด้วยวิธีนี้ คือทรงจำพระไตรปิฎกด้วยวิธีสวดพร้อมกันจำนวนมากๆ 
พระสงฆ์ทั้งหลายนั้นท่านเห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก เพราะรู้อยู่ว่า นี้แหละคือพระพุทธศาสนา ถ้าหมดพระไตรปิฎกเมื่อไร พระพุทธศาสนาก็หมดไปเมื่อนั้น ถ้าพระไตรปิฎกเคลื่อนคลาดไป พระพุทธศาสนาก็เคลื่อนคลาดไปด้วย 
พระเถระรุ่นก่อนนั้น ถือความสำคัญของพระไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง แม้แต่ในยุคที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว ก็ต้องถึงกับพูดกันว่า อักษรจารึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านี้ อักษรเดียวมีค่าเท่ากับพระพุทธรูปองค์หนึ่ง เพราะฉะนั้น ถ้ามองในแง่บวก ก็คือว่าต้องช่วยกันรักษาไว้ให้ดี แม้แต่จารึกหรือสนับสนุนการจารึกเพียงนิดหน่อยก็เป็นบุญเป็นกุศลมาก แต่มองในแง่ลบก็คือ ถ้าใครไปทำให้ผิดพลาด แม้แต่อักษรเดียว ก็เหมือนทำลายพระพุทธรูปองค์หนึ่ง เป็นบาปมาก นี่แหละ ท่านให้ความสำคัญถึงอย่างนี้ เพราะฉะนั้น พระเถระรุ่นก่อน ท่านจึงระวังมากในเรื่องการรักษาทรงจำพระไตรปิฎกไม่ให้ผิดเพี้ยน รวมความว่า
๑. มีความระมัดระวังเห็นเป็นสำคัญมาก เพราะถือว่าเป็นตัวพระพุทธศาสนา
๒. ถือเป็นงานของส่วนรวม โดยเฉพาะพระเถระผู้ใหญ่ ผู้นำหมู่คณะ และพระสงฆ์ทั้งหมดในพระพุทธศาสนา จะต้องเอาธุระในการดูแลรักษาอย่างยิ่ง
เป็นอันว่า การรักษาด้วยวิธีเดิม คือการทรงจำด้วยการสาธยายนั้น เป็นวิธีที่แม่นยำที่สุด เพราะรักษาโดยส่วนรวมที่สวดพร้อมกัน แต่พร้อมกันนั้นแต่ละองค์ก็มีหน้าที่ต้องท่องจำอยู่แล้ว โดยจะต้องมีการซักซ้อม และทบทวนกันอยู่เสมอ ซึ่งปรากฏแม้แต่ในสมัยนี้ ในพม่าก็ยังรักษาประเพณีนี้ไว้ กล่าวคือในยุคนี้ ทั้งๆ ที่มีคัมภีร์จารึกและพิมพ์เป็นเล่มหนังสือแล้ว เขาก็ยังพยายามสนับสนุนพระภิกษุให้ทรงจำพระไตรปิฎก 
ในพม่าปัจจุบันยังมีประเพณีเป็นทางการของบ้านเมือง คือ มีการสอบพระภิกษุที่มาสมัครเพื่อจะแสดงความสามารถในการทรงจำพระไตรปิฎก พระภิกษุองค์ใดสอบผ่านแสดงว่าทรงจำพระไตรปิฎกได้หมด ซึ่งถ้านับเป็นตัวหนังสือพิมพ์เป็นอักษรไทย ก็ได้ ๔๕ เล่ม ๒๒,๐๐๐ กว่าหน้า ถ้าท่านจำได้หมด ทางการจะตั้งให้เป็น พระติปิฏกธร แปลว่า ผู้ทรงจำพระไตรปิฎก ได้เป็นพระเป็นที่เคารพนับถือองค์หนึ่ง และทางรัฐบาลจะเลี้ยงดูโยมพ่อแม่ของพระภิกษุนั้น และอุปถัมภ์บำรุงด้วยประการต่างๆ 
เดี๋ยวนี้ก็ยังมีพระติปิฏกธร คือพระภิกษุรูปเดียวที่สามารถจำพระไตรปิฎกได้ทั้งหมด๒๒,๐๐๐ กว่าหน้า ให้เห็นว่าเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ ไม่ใช่สิ่งเหลือวิสัย นี่คือองค์เดียวเท่านั้น ก็ยังจำไหว 
ในสมัยโบราณต้องใช้วิธีทรงจำโดยท่องปากเปล่าอย่างนี้ เพราะไม่มีการจารึกเป็นลายลักษณ์อักษร เพราะฉะนั้น พระภิกษุทั้งหลายก็ทรงจำกันไว้ องค์ไหนทรงจำไว้ได้มากที่สุด ก็จะได้รับความเชื่อถือ และเคารพนับถือ 


พระไตรปิฎกยุคจารึกเป็นลายลักษณ์
ถือเป็นหลักของชาติ จึงคงอยู่ได้ด้วยดี

ต่อมาถึง พ.ศ.ใกล้ ๕๐๐ จึงได้เริ่มมีการใช้วิธีจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรลงในใบลาน พอถึงยุคจารึกลงในใบลานนี้แหละ กลายเป็นยุคที่จะมีความคลาดเคลื่อนได้ง่าย เพราะคนเริ่มประมาทว่า เออ เรามีใบลาน มีหนังสือที่จารึกไว้แล้ว อยากรู้ก็ไปเปิดดูและตรวจสอบได้ง่าย เราไม่ต้องจำให้มาก ไปๆ มาๆ การสวดสาธยายพระไตรปิฎกก็เหลืออยู่แค่สวดมนต์ อย่างทำวัตรสวดมนต์ที่เราเห็นๆ กันอยู่ คนก็จำพุทธพจน์ได้น้อยลงๆ เหลือน้อยลงไปทุกที 
นอกจากนั้น ในการคัดลอกเป็นลายลักษณ์อักษรที่เรียกว่า จาร เวลาคัดลอกกันทีหนึ่ง ก็อดไม่ได้ที่จะมีการตกหล่นหรือผิดเพี้ยน เช่นตัว จ เป็น ว หรือตัว ว เป็น จ เป็นต้น เพราะฉะนั้น จึงต้องมีการคัดลอกในระดับที่เป็นทางการใหญ่ของคณะสงฆ์ทั้งหมด หรือเป็นระดับของประเทศชาติ ซึ่งเราจะเห็นได้ว่า ประเทศพุทธศาสนาทุกประเทศ จะถือเรื่องนี้เป็นสำคัญ จะต้องมีพระไตรปิฎกฉบับหลวงเป็นของราชการ เป็นของแผ่นดิน เป็นของประเทศชาติ รักษาไว้เป็นหลักของกลาง แล้วมาคัดลอกต่อๆ กันไป 
นานๆ จึงต้องมีการมาประชุมกันระดับชาติ แล้วก็เอามาตรวจสอบกัน เอามาทานกัน ตรงไหนตกหล่น ผิดพลาดไป ก็ทำเชิงอรรถไว้ คือถือเรื่องความบริสุทธิ์บริบูรณ์ของพระไตรปิฎกเป็นเรื่องสำคัญสูงสุดในพระพุทธศาสนา เพราะนี้คือองค์แทนที่แท้ของพระพุทธเจ้า ที่เป็นพระศาสดา และเป็นตัวพระพุทธศาสนา 
จะเห็นว่า ประเทศพุทธศาสนาทุกประเทศถือเรื่องพระไตรปิฎกเป็นหลักสำคัญยิ่ง เวลานำพระพุทธศาสนาไปประเทศต่างๆ ก็คือจะต้องนำพระไตรปิฎกไป อย่างพระเจ้าอโนรธามังช่อ ที่เป็นมหาราชของพุกาม ผู้เป็นต้นความยิ่งใหญ่ของพม่า ที่ปราบมอญลงได้ ตอนนั้นมอญนับถือพระพุทธศาสนา พระเจ้าอนุรุทธมหาราช หรือพระเจ้าอโนรธามังช่อไปปราบมอญได้แล้ว หันมานับถือพระพุทธศาสนา ก็นำเอาพระไตรปิฎกจากมอญไปยังพุกาม 
พระภิกษุทั้งหลายเดินทางไปมาระหว่างประเทศในสมัยโบราณ ก็เพื่อศึกษาพระไตรปิฎก คัดลอกพระไตรปิฎก และอรรถกถา
พระเจ้าแผ่นดินไทยแต่ละยุค เวลาสร้างบ้านเมืองใหม่ ก็ทรงถือเรื่องพระไตรปิฎกเป็นการสำคัญ เช่นเมื่อกรุงศรีอยุธยาแตก ถูกพม่าเผา พระเจ้ากรุงธนบุรีรวบรวมประเทศชาติได้ ทรงตั้งเมืองหลวงใหม่ที่กรุงธนบุรี พอตั้งเมืองหลวงเสร็จ ก็จัดการเรื่องคณะสงฆ์ หาพระภิกษุที่น่าเคารพนับถือมาสถาปนาเป็นองค์สมเด็จพระสังฆราช เสร็จแล้วภาระใหญ่อันสำคัญที่พระองค์ทำ ก็คือให้รวบรวมพระไตรปิฎก เพราะว่าอยุธยาถูกเผา พระคัมภีร์ถูกไฟไหม้ไปแล้ว ก็โปรดให้ไปรวบรวมพระไตรปิฎกจากหัวเมือง ทั้งเมืองเหนือ เมืองใต้ เอามาเลือกคัดจัดตั้งเป็นสมบัติกลางไว้ที่เมืองหลวง เพื่อเป็นหลักของบ้านเมืองต่อไป 
พอมาถึงแผ่นดินรัชกาลที่ ๑ สมัยกรุงเทพฯก็เหมือนกัน พอเริ่มตั้งกรุง เมื่อจัดบ้านเมืองพอเข้าที่ สิ่งที่พระองค์ทรงรีบทำ คือเรื่องของพระไตรปิฎก ถึงกับมีการสังคายนาของกรุงเทพฯ ขึ้นมา ครั้นสังคายนาเสร็จเรียบร้อย สอบทานได้พระไตรปิฎกมาเป็นหลัก ก็จัดตั้งเป็นฉบับหลวงของแผ่นดิน จึงเป็นที่รู้กันว่า การรักษาพระไตรปิฎกเป็นงานสำคัญอย่างยิ่งยวดในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา 
ในยุคทรงจำด้วยปาก การรักษาพระไตรปิฎกก็คือ ท่องพร้อมกัน สวดพร้อมกัน มาสอบทานกันด้วยวาจาอยู่เสมอ ต่อมาในยุคที่เป็นลายลักษณ์อักษรก็คือเอาคัมภีร์ที่จารึกไว้ทั้งหลาย มาเทียบเคียงสอบทานกันอยู่เสมอ
 การสอบทานกันนี้ เป็นความหมายของการสังคายนาในยุคหลัง ซึ่งเป็นที่น่าอัศจรรย์ว่า พระไตรปิฎกของเราที่เป็นบาลี จะไปอยู่ในพม่า ไปเป็นของสิงหลอยู่ในลังกา ไปอยู่ในประเทศไทย หรือไปอยู่ในประเทศไหน แม้แต่ฝรั่งเอาไปคัดลอกเป็นฉบับอักษรโรมัน ก็เหมือนกันหมด เนื้อหาอย่างเดียวกัน จะมีแปลกไปก็เพราะพิมพ์ผิดนิดๆ หน่อยๆ อย่างของเรามีอยู่แห่งหนึ่ง ตกหล่นไป ยาวหน่อย สักครึ่งค่อนหน้า ก็ถือเป็นเรื่องใหญ่มากแล้ว 
หมายความว่า พระไตรปิฎกบาลีของเถรวาทเรานี้ ไม่ว่าจะเป็นของประเทศไหน ทั้งๆ ที่อยู่ห่างไกลกันไปแสนนาน ก็ยังเหมือนกัน เนื้อหาอย่างเดียวกัน แสดงถึงการที่ท่านให้ความสำคัญกับการรักษา
ในเวลาที่เรามีการตรวจชำระพระไตรปิฎกครั้งหนึ่ง เราก็เอาของทุกประเทศมาสอบทานเทียบเคียงกัน เพื่อดูว่ามีข้อความถ้อยคำหรืออักษรตัวไหนผิดเพี้ยนกันไหม แม้แต่เล็กๆ น้อยๆ เพียงว่า อักษร จ เป็น ว เราก็จะทำเชิงอรรถไว้ว่า ตรงนี้ฉบับของเราเป็นอย่างนี้ ฉบับพม่าหรือฉบับไหนเป็นอย่างนั้น อย่างชื่อพระอัญญาโกณฑัญญะ ก็มีการผิดเพี้ยนกันไปนิดหน่อย ฉบับของเราเป็นอัญญาโกณฑัญญะ ฉบับอักษรโรมันของ Pali Text Society เป็นอัญญาตโกณฑัญญะ เป็นต้น ความแตกต่างแม้แต่นิดเดียว เราก็บันทึกไว้ให้รู้ในเชิงอรรถ 

ต้องเข้าใจให้ชัด 
แค่ไหนใช่ แค่ไหนไม่ใช่สังคายนา

การสังคายนานั้นต้องให้รู้ว่าเป็นการที่จะรักษาคำสอนเดิมเอาไว้ให้แม่นยำที่สุด ไม่ใช่ว่าพระภิกษุที่สังคายนามีสิทธิ์เอาความคิดเห็นของตนใส่ลงไป การสังคายนา ก็คือ การมาทบทวนซักซ้อมตรวจสอบคัมภีร์ให้ตรงตามของเดิม และซักซ้อมตรวจสอบคนที่ไปทรงจำ หรือไปนับถืออะไรต่างๆ ที่อาจจะผิดเพี้ยนไป ให้มาทบทวนตัวเอง ให้มาซักซ้อมกับที่ประชุม ให้มาปรับความเห็น ความเชื่อ การปฏิบัติของตน ให้ตรงตามพระไตรปิฎกที่รักษากันมาอย่างแม่นยำ ที่เป็นหลักกลางนี้ 
บางคนเข้าใจผิดว่า ในการสังคายนานี้ ผู้ที่เข้าร่วมสังคายนา จะไปปรับไปแต่งไปทำอะไรกับพระไตรปิฎก ดีไม่ดีอาจจะถึงกับเข้าใจว่ามาแต่งพระไตรปิฎกกันใหม่ ซึ่งเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไปไกล ซึ่งแสดงว่าไม่รู้จักการสังคายนา และไม่รู้เรื่องอะไรเลย
เพราะฉะนั้น จะต้องย้ำกันว่า การสังคายนาพระไตรปิฎก ก็คือ การมาทบทวนตรวจสอบซักซ้อมกันในการที่จะรักษาพระไตรปิฎกของเดิมที่ท่านสังคายนาไว้ ในการสังคายนาครั้งที่ ๑ เมื่อ ๓ เดือน หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ว่าเป็นอย่างไร ก็ให้คงอยู่อย่างนั้น อย่างแม่นยำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ อะไรที่คลาดเคลื่อน ใครทรงจำผิดไป ก็ให้มาปรับเข้ากับของเดิมของแท้นี้เสีย เพราะว่าเมื่อเรารักษาคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็คือเราจะต้องเอาคำตรัสของพระองค์ของเดิมไว้ให้ได้ ถ้าคำสอนคำตรัสเดิมหมดไป ก็คือพระพุทธศาสนาหมดไปแล้ว 
แต่เราก็ต้องรู้ด้วยว่า ในพระไตรปิฎกไม่ใช่มีเฉพาะคำตรัสของพระพุทธเจ้าอย่างเดียว คำของพระสาวกก็มี เช่น คำของพระสารีบุตรที่ได้แสดงวิธีสังคายนาเป็นตัวอย่างไว้นั้น ก็เป็นพระสูตรอยู่ในพระไตรปิฎก ชื่อ สังคีติสูตร แต่ธรรมะที่พระสารีบุตรนำมาสังคายนาไว้ในสังคีติสูตรนั้น ก็คือคำตรัสของพระพุทธเจ้า หรือธรรมที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงไว้นั่นเอง นอกจากนั้นก็มีคำสนทนากับผู้อื่น ซึ่งมีคำของผู้อื่นอยู่ด้วยในนั้น 
หลักคำสอนอะไรเก่าๆ ก่อนพุทธกาล ที่พระพุทธเจ้าทรงยอมรับ ทรงนำมาเล่าให้นับถือปฏิบัติกันต่อไป ก็มาอยู่ในพระไตรปิฎกด้วย อย่างเรื่องชาดก เฉพาะส่วนที่เป็นตัวคำสอนแท้ๆ 
คัมภีร์ที่นิพนธ์แม้หลังพุทธกาลก็มีบ้าง อย่างในสมัยสังคายนาครั้งที่ ๓ สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ประธานสังคายนา ท่านได้เห็นว่า พระในสมัยนั้นบางพวกมีความเชื่อถือวิปริตผิดแผกแตกออกไป ท่านก็เรียบเรียงคัมภีร์ขึ้นมาเล่มหนึ่ง เพื่อวินิจฉัยความเชื่อถือ หรือการสั่งสอนที่ผิดพลาดเหล่านั้นแต่การวินิจฉัยนั้นก็เป็นเพียงว่าท่านมาเชื่อมโยง โดยยกเอาคำสอนคำตรัสของพระพุทธเจ้าที่โน้น ที่นี่ ในเรื่องเดียวกันนั้น มารวมกันไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง เพื่อแสดงให้เห็นว่า เรื่องนั้นพระพุทธเจ้าตรัสว่าอย่างไร เพื่อจะวินิจฉัยความเชื่อหรือคำสอนของผู้ที่เชื่อผิดพลาดไปนั้น อย่างนี้ก็กลายเป็นคัมภีร์ใหม่ แต่แท้จริง ก็เป็นการนำเอาพุทธพจน์ในเรื่องนั้นๆ มารวมไว้ในอีกลักษณะหนึ่ง โดยมีเรื่องราว หรือข้อคิด หรือข้อพิจารณาอะไรอย่างหนึ่งเป็นแกน 
แต่ก็อย่างที่กล่าวแล้วว่า พระไตรปิฎกนี้เป็นประมวลคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ถือว่าเป็นมาตรฐาน เป็นของส่วนรวมที่พระสงฆ์ทั้งหมดโดยเฉพาะท่านที่เป็นครูอาจารย์และพระเถระที่รับผิดชอบการพระศาสนาต่างก็คอยจับตา คอยระแวดระวัง ถือเป็นสำคัญ ฉะนั้นใครจะไปเที่ยวใส่เติมอะไรลงไปไม่ได้ จะต้องเป็นที่ยอมรับกันอย่างแน่นอน และไม่ใช่ประเทศเดียวรักษาไว้ หลายๆ ประเทศต่างก็มี แล้วก็ต้องคอยทานเทียบกัน หมั่นตรวจสอบไม่ให้คลาดเคลื่อนกันไป
รวมความก็คือให้จำไว้เลยว่า ประเทศพุทธศาสนาเถรวาททั้งหมด มีพระไตรปิฎกชุดเดียวกัน ซึ่งเนื้อหาเหมือนกันทั้งหมด แม้จะต่างกันในตัวอักษร จ ว บ้าง บางแห่ง หรือตกหล่นบางคำบ้าง ก็น้อยเต็มที ความสำนึกตระหนักมั่นนี้ อย่าว่าแต่ต่างประเทศเลย แม้แต่ประเทศไทยเรา ต่อไป ถ้าไม่เห็นความสำคัญ เราเองก็อาจจะทำให้เลือนลางคลาดเคลื่อน 
เวลาแปลคำว่า “สังคายนา” เป็นภาษาอังกฤษ เรามักไปเทียบกับภาษาฝรั่ง เช่น Council อย่างของศาสนาคริสต์ เขามี Vatican Council เป็นต้น เราก็แปลว่าเป็นการสังคายนา อันนั้นเป็นการแปลเพียงเทียบในบางแง่ความหมาย ซึ่งที่จริงไม่
เหมือนกันเลย 
การประชุม Council ของศาสนาคริสต์นั้นเป็นอีกแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นการมาตกลงกันกำหนดหลักความเชื่อ และแม้แต่การวางนโยบายในการเผยแผ่ศาสนาของเขา แต่การสังคายนาในพระพุทธศาสนาเป็นการรักษาคำสอนเดิมของพระพุทธเจ้าไว้ให้แม่นยำที่สุด ไม่ให้ใครมาเที่ยวแก้ไขให้คลาดเคลื่อนหรือตัดแต่งต่อเติม จะมาทำให้ตกหล่นก็ไม่ได้ ต่อเติมก็ไม่ได้ ต้องรักษาไว้ให้แม่นยำที่สุด เราเพียงมาตรวจเช็ค มาซักซ้อม ทบทวนกัน ใครที่เชื่อถือหรือสั่งสอนคลาดเคลื่อน หรือผิดแผกไป ก็มาปรับให้ตรงตามของเดิม 
เพราะฉะนั้น พระพุทธศาสนาเถรวาทจึงมีความภูมิใจโดยชอบธรรมว่า เรารักษาพระพุทธศาสนาไว้ได้เป็นแบบเดิมแท้ ส่วนพระสูตรต่างๆ ของพระพุทธศาสนาแบบมหายานที่เป็นอาจริยวาท/อาจารยวาท เดี๋ยวนี้ก็รู้กันหมดแล้วว่าเป็นของที่แต่งขึ้นภายหลัง ไม่รักษาคำสอนเดิมแท้ๆไว้ ก็เลยคลาดเคลื่อนหรือหาย คัมภีร์ส่วนมากก็สาบสูญไป เขาก็เลยมายอมรับกันว่า คำสอนเดิมแท้ของพระพุทธเจ้าที่จะหาได้ครบสมบูรณ์ที่สุด ก็ต้องมาดูในพระไตรปิฎกบาลีของพระพุทธศาสนาเถรวาทของเรานี้ เรื่องนี้เป็นที่ยอมรับกันเป็นสากล คือนักปราชญ์ วงวิชาการทั่วโลก จะเป็นมหายาน หรือเถรวาท หรือเป็นวัชรยาน ก็รู้กันทั้งนั้น 

ควรเห็นคุณค่าของอรรถกถา
ที่ค้ำชูอยู่เคียงข้างพระไตรปิฎก

เมื่อถือพระไตรปิฎกเป็นมาตรฐานชั้นหนึ่งแล้ว ต่อจากนั้น ก็จะมีการปิดรายการว่า เอาละ พระไตรปิฎกมีแค่นี้ ต่อจากนี้พระเถระ พระอาจารย์ผู้ใหญ่ ที่เป็นนักปราชญ์ ก็ทำหน้าที่ช่วยกันรักษาพระไตรปิฎกนี้ไว้ 
นอกจากรักษา ท่านก็มีหน้าที่อธิบายด้วย เพราะต้องสั่งสอนลูกศิษย์จำนวนมากมาย ซึ่งเมื่อศึกษาพระไตรปิฎกนั้น ก็อาจไปติดขัด ไม่เข้าใจบางส่วนบางตอนที่ยาก พระอาจารย์ผู้ใหญ่เหล่านี้ที่ท่านสืบต่อคำสอนกันมา และถ่ายทอดคำอธิบายกันมาเรื่อย ตั้งแต่สมัยพุทธกาล พระเถระจนถึงพระมหาเถระผู้เป็นครูอาจารย์เหล่านี้ ก็อธิบายคำสอนของพระพุทธเจ้าในพระไตรปิฎกให้แก่ลูกศิษย์ลูกหาของท่าน หรือผู้ที่ศึกษาค้นคว้า แล้วคำอธิบายเหล่านี้ก็มารวบรวมกันเป็นคัมภีร์ระดับรองจากพระไตรปิฎก เรียกชื่อว่า “อรรถกถา” คือไม่จัดรวมเข้าในพระไตรปิฎก 
ตอนนี้เท่ากับมีคัมภีร์ ๒ ระดับ 
ระดับที่ ๑ คัมภีร์ที่จารึกพุทธพจน์ พร้อมทั้งเรื่องเกี่ยวข้องที่เป็นหลักฐานดั้งเดิม เป็นมาตรฐานใหญ่ เป็นเกณฑ์ตัดสินพระพุทธศาสนา เรียกว่า พระไตรปิฎกและ
ระดับที่ ๒ คัมภีร์เคียงข้างพระไตรปิฎก ซึ่งมีมาแต่เดิมเหมือนกัน โดยถ่ายทอดกันมา เป็นคำอธิบายพระไตรปิฎกนั้นอีกทีหนึ่ง เรียกว่า อรรถกถา 
น่าสังเกตว่า การรักษาพระไตรปิฎก กับการรักษาอรรถกถานี้ต่างกัน คือ พระไตรปิฎกนั้นจะต้องรักษาไว้อย่างเดิม ตัวภาษาก็ต้องของเดิม คือภาษาบาลี แต่อรรถกถา ซึ่งเป็นคำอธิบายพระไตรปิฎก มุ่งให้ผู้ศึกษาใช้ประกอบการศึกษาให้เข้าใจพระไตรปิฎก เพราะฉะนั้นอย่างในลังกาสมัยก่อน เดิมนั้นก็รักษากันมาด้วยภาษาสิงหล ซึ่งเป็นภาษาของชาวลังกา หมายความว่า ผู้ศึกษาเรียนพระไตรปิฎกโดยอาศัยคำอธิบายของอรรถกถา จึงเรียนพระไตรปิฎกที่เป็นภาษาบาลี ด้วยอรรกถาคือ คำอธิบายที่เป็นภาษาสิงหลของชาวลังกาเอง 
เป็นเช่นนี้จนกระทั่งต่อมา พ.ศ. ๙๐๐ เศษ พระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งอยู่ในอินเดีย จึงได้เดินทางมายังลังกา และแปลอรรถกถาจากภาษาสิงหลกลับเป็นภาษาบาลี
ตอนนั้น ในอินเดีย พระพุทธศาสนาเสื่อมมากแล้ว กลายเป็นว่าศูนย์กลางพระพุทธศาสนาเถรวาทได้มาอยู่ในลังกา พระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งอยู่ในอินเดีย ต้องการจะให้คนอินเดียได้เรียนรู้พระพุทธศาสนามากหน่อย จึงต้องการอรรถกถาซึ่งเป็นคำอธิบายพระไตรปิฎกที่อยู่ในลังกา ท่านจึงเดินทางจากอินเดียมาลังกา แล้วมาขอแปลอรรถกถาภาษาสิงหลกลับเป็นภาษาบาลี เพื่อนำไปศึกษาในอินเดีย ตอนนี้เราก็เลยได้อรรถกถาที่เป็นภาษาบาลีอีก ก็เลยมีทั้งพระไตรปิฎกและอรรถกถาที่เป็นภาษาบาลี

คัมภีร์พุทธศาสนามีหลายชั้น
ทรงความสำคัญลดหลั่นลงมา

ต่อจากนั้นก็ยังมีคัมภีร์รุ่นสืบมาหลังจากอรรถกถา กล่าวคือ เนื้อหาในพระไตรปิฎก ส่วนใดที่อรรถกถาอธิบายไว้ อาจารย์ใหญ่รุ่นต่อมาเห็นว่าอธิบายยังไม่พอ ควรจะให้ชัดกว่านั้น คือพุทธพจน์บางแห่งในพระไตรปิฎก พระอรรถกถาจารย์เห็นว่าง่าย รู้กันดีอยู่แล้ว เพราะรุ่นของท่านยังใกล้พุทธกาล ท่านก็ไม่อธิบาย พระอาจารย์รุ่นต่อมาเห็นว่าคนรุ่นหลังนี้ไม่เข้าใจ ก็อธิบายเสียด้วย หรือแม้แต่คำของพระอรรถกถาจารย์นั้นเอง คนรุ่นหลังก็อาจเข้าใจไม่ชัด ก็มีพระอาจารย์ผู้ใหญ่ที่เชี่ยวชาญมาอธิบายขยายความไปอีก คัมภีร์รุ่นหลังต่อจากอรรถกถานี้เรียกว่า ฎีกา ต่อจากฎีกาก็มีอนุฎีกาลดหลั่นกันลงมา 
คัมภีร์เหล่านี้ใช้เป็นหลักที่จะตัดสินวินิจฉัยคำสอนในพระพุทธศาสนาลดหลั่นกันลงมา โดยถือว่าพระไตรปิฎกเป็นอันดับหนึ่ง เป็นมาตรฐานใหญ่ และเป็นมาตรฐานกลาง ซึ่งตัดสินเด็ดขาดว่าเป็นพระพุทธศาสนาหรือไม่ ต่อจากนั้นมาก็มีอรรถกถามาช่วยเป็นเกณฑ์วินิจฉัยต่อ คือถ้าในพระไตรปิฎกนั้นเรามีข้อสงสัยอะไร ก็มาดูคำวินิจฉัยในอรรถกถา 
ที่ว่านี้ไม่ได้หมายความว่า อรรถกถามาตัดสินพระไตรปิฎก แต่หมายความว่า เราคนรุ่นหลังอ่านพระไตรปิฎกกัน อาจจะเข้าใจไม่ชัดเจน พระอรรถกถาจารย์ก็มาอธิบายไว้ให้ชัด เราจึงใช้อรรถกถาเป็นเครื่องช่วยวินิจฉัยในส่วนที่เรายังไม่ชัดเจน ต่อจากนั้นก็มีฎีกา อนุฎีกา ตามลำดับต่อกันไป 
คัมภีร์เหล่านี้ท่านถือเป็นสำคัญสืบกันมา เพราะผู้ที่จะเรียบเรียงคัมภีร์ขึ้นมาได้ ก็ต้องเป็นที่ยอมรับ เป็นครูอาจารย์ เป็นผู้ที่รู้หลักคำสอนของพระพุทธเจ้า เชี่ยวชาญจัดเจนตลอดพระไตรปิฎก และช่ำชองทั่วตลอดในคัมภีร์ทั้งหลายในชั้นที่เหนือตนขึ้นไป และเมื่อนิพนธ์ขึ้นมาแล้วก็ต้องเป็นที่ยอมรับของปราชญ์ด้วยกันในยุคนั้นแล้วจึงอยู่ได้ เพราะฉะนั้น จึงเป็นหลักของพระศาสนา 
ส่วนพระอาจารย์รุ่นหลังต่อจากที่ว่ามาแล้ว ซึ่งเป็นพระเถระผู้ใหญ่ในยุคนั้นๆ ที่มาแสดงคำสอนหรือคำอธิบายต่างๆ ก็เรียกกันว่าเป็น อัตตโนมติ หมด ไม่ว่าจะเป็นพระอาจารย์องค์ไหนก็ตาม แต่ละองค์ๆ ก็เรียก อัตตโนมติ คือมติของบุคคล หรือเป็นมติส่วนตัวของท่านผู้นั้นๆ ซึ่งถือเป็นสำคัญน้อยลงมา 
เป็นอันว่า ถือพระไตรปิฎกเป็นหนึ่ง อรรถกถาเป็นสอง รองลงมา แล้วก็เป็นฎีกา อนุฎีกา เป็นต้น จนมาถึงอัตตโนมติของอาจารย์ที่มีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน หรือแม้ก่อนนั้น ที่แต่งตำรับตำราไว้หลังจากรุ่นอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา จัดเป็นอัตตโนมติทั้งหมด


ถ้านับถือพระบรมศาสดา
ก็ต้องรักษาพระไตรปิฎก

ที่กล่าวมานี้ ก็ด้วยมุ่งจะให้รู้จักว่า พระไตรปิฎกคืออะไร มีความสำคัญอย่างไร การสังคายนาคืออะไร และการรักษาสืบต่อพระไตรปิฎกทำกันมาอย่างไร 
เวลานี้น่าเสียดายว่า ชาวพุทธจำนวนมาก ไม่เข้าใจสิ่งที่เป็นหัวใจสำคัญ ซึ่งเป็นแก่น และเป็นเนื้อตัวของพระพุทธศาสนา ไม่รู้จักพระไตรปิฎก ไม่รู้จักการสังคายนา ไม่รู้จักวิธีรักษาสืบทอดพระไตรปิฎก หรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่เรียกว่าธรรมวินัยนั้น เพราะฉะนั้น จึงเป็นโอกาส หรือเป็นช่องทางให้เกิดความสับสน ตลอดจนความเสื่อมโทรมและความคลาดเคลื่อนต่างๆ พร้อมทั้งคำสอนที่ผิดเพี้ยนแปลกปลอมจะแทรกซ้อนหรือแอบแฝงเข้ามา 
เรื่องนี้ต่างจากชาวพุทธในสมัยโบราณมาก แม้เขาจะไม่มีการศึกษารู้อะไรมากมายในความหมายของคนปัจจุบัน แต่เขาเข้าใจสิ่งเหล่านี้ อย่างน้อยรู้จักว่าพระไตรปิฎกคืออะไร เป็นหลักของพระศาสนาอย่างไร มีความสำคัญอย่างไร ต่อความเป็นความตายของพระพุทธศาสนา เพราะว่าถ้าพระไตรปิฎกคลาดเคลื่อน ก็คือพระพุทธศาสนาคลาดเคลื่อน หรือกำลังเลือนลางไป ถ้าพระไตรปิฎกหายไป หมดไป ก็คือพระพุทธศาสนาสูญสิ้น เพราะจะไม่มีแหล่งคำสอนของพระพุทธเจ้าเหลืออยู่ 
อย่างที่กล่าวแล้วว่า เรานับถือพระพุทธศาสนา ก็คือนับถือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ต้องการฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เมื่อต้องการรู้ว่าพระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไร เราจะไปรู้เอาเองได้อย่างไร ก็ต้องไปฟังจากพระพุทธเจ้า เมื่อพระพุทธเจ้าไม่อยู่ ก็ต้องไปดูคำสอนที่จารึกไว้ ซึ่งก็ได้จารึกไว้และรักษากันมาในพระไตรปิฎกนี้ 
ถ้าหมดพระไตรปิฎก ก็คือหมดพระพุทธศาสนา หมดคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หมดพระธรรมวินัย หมดพระศาสดาของชาวพุทธ 
จึงเป็นหน้าที่ของชาวพุทธ ที่จะต้องรักษาพระธรรมวินัยไว้ ด้วยการเล่าเรียนพระไตรปิฎก แล้วก็รักษาพระไตรปิฎกไว้ให้อยู่มั่นคงด้วยดี ดังที่ชาวพุทธโบราณทุกประเทศได้พยายามรักษากันมาเป็นงานสำคัญของชาติ 
ถ้าเราเห็นความสำคัญของพระไตรปิฎก ก็คือเห็นความสำคัญของพระพุทธเจ้า เพราะว่าเรานับถือคำสั่งสอนของพระองค์ ถ้าเรารักษาพระไตรปิฎกไว้ได้ พระพุทธศาสนาก็อยู่อย่างดีที่สุด แล้วก็จะมีหลักที่เป็นแกนกลาง ที่เรานับถือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในหมู่ชาวพุทธทั้งหมด ชาวพุทธทั้งปวงในประเทศเถรวาททุกประเทศ ก็จะมีเอกภาพดังที่เคยมีเอกภาพกันมาแล้ว 
อย่างที่กล่าวแล้วว่า คำสอนของพระพุทธเจ้าในพระไตรปิฎกของประเทศไทย พม่า ลังกา หรือในประเทศไหนๆ แม้แต่ที่เอาไปในยุโรป เช่นที่อังกฤษ ก็เป็นเนื้อหาอันเดียวกันหมด เป็นคำสอนเดียวกัน เช่น ทาน ศีล ภาวนา อันเดียวกัน ศีล สมาธิ ปัญญา ไตรสิกขา อันเดียวกัน ขันธ์ ๕ ปฏิจจสมุปบาท อันเดียวกัน ไม่ว่าพระสูตรใดๆ ไปดูเนื้อหาก็เหมือนกันหมด ไปที่ไหนก็ใช้กันได้เหมือนกัน 
เพราะฉะนั้น ถ้าพระไตรปิฎกที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนายังคงอยู่ ชาวพุทธก็ยังมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่ถ้าเราเสียหลักเรื่องนี้เมื่อไร ก็เป็นอันว่าพระพุทธศาสนาจะเริ่มมีปัญหา ชาวพุทธเองก็จะทะเลาะเบาะแว้งกัน นั่นก็คือความเสื่อมโทรมของพระพุทธศาสนา และความเสื่อมโทรมแห่งประโยชน์สุขของประชาชน ที่จะไม่รู้จักพระพุทธศาสนาที่แท้จริงและไม่สามารถปฏิบัติให้ถูกต้อง
เพราะฉะนั้น จะต้องช่วยกันสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับพระไตรปิฎก และชวนกันรักษาด้วยการศึกษาพระไตรปิฎกกันอย่างจริงจัง 

เสรีภาพแห่งความคิดเห็นของบุคคล
ต้องไม่สับสนกับความซื่อตรงต่อพระศาสดา

อนึ่ง ขอให้แง่คิดไว้นิดหนึ่งว่า การทำเช่นนี้ไม่ใช่หมายความว่าเราติดตำรา หรือติดพระไตรปิฎก อันนี้เป็นคนละเรื่องกัน แต่เป็นการที่เรารู้ว่าอะไรเป็นเกณฑ์ตัดสิน หรือเป็นมาตรฐานคำสอนในพระพุทธศาสนา ให้ได้รู้ว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไร และสอนว่าอย่างไร ส่วนเราจะเชื่อหรือไม่ก็เป็นเรื่องของเรา เป็นสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล แม้แต่ว่าจะเชื่อพระพุทธเจ้าหรือไม่ ก็เป็นสิทธิที่จะเชื่อหรือไม่เชื่อก็ได้ ต้องแยกให้ถูก 
เวลานี้ก็เป็นปัญหาอีกอย่างหนึ่งคือ ความสับสนของคนในยุคที่เรียกกันว่ามีการศึกษา แต่การศึกษานี้กำลังพร่ามัวลงไปมาก จนแยกไม่ถูกแม้แต่ระหว่างตัวหลักการกับความคิดเห็นส่วนบุคคล เพียงแค่นี้ก็แยกไม่ถูก จึงแน่นอนว่าความสับสนจะต้องเกิดขึ้น แล้วก็นำไปสู่ปัญหาต่างๆ มากมาย 
ถ้าเราถามว่าพระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไร หรือสอนเรื่องอะไรว่าอย่างไร เราจะดูที่ไหน เราก็ต้องไปดูพระไตรปิฎก เพราะเราไม่มีแหล่งอื่นที่จะตอบคำถามนี้ได้ เราจะว่าเอาเอง หรือไปตอบแทนพระพุทธเจ้าได้อย่างไร ว่าพระองค์สอนอย่างนั้นอย่างนี้ 
ต่อจากนั้น เมื่อรู้ว่า หรือได้หลักฐานเท่าที่มีว่าพระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไรแล้ว เราจะเชื่อคำสอนนั้นหรือไม่ หรือเรามีความเห็นต่อคำสอนนั้นว่าอย่างไร อันนั้นก็เป็นเรื่องของเรา เป็นเรื่องของบุคคลนั้น ตอนนี้ไม่ใช่เรื่องหลักการ แต่เป็นเรื่องของความคิดเห็น 
ฉะนั้นจะต้องแยกส่วนนี้ให้ได้ เวลาจะพูดกันก็ต้องแยกให้ถูกว่าเรากำลังพูดกันเรื่องว่า คำสอนของพระพุทธเจ้าว่าอย่างไร พระพุทธเจ้าสอนในเรื่องนี้ว่าอย่างไร หรือว่าเรากำลังพูดเรื่องว่า เรามีทัศนะความคิดเห็นในเรื่องนั้นว่าอย่างไร ต้องแยกให้ถูก แล้วก็พูดให้เป็นขั้นตอน เป็นลำดับ ก็จะไม่เป็นปัญหา 
เวลานี้ก็เท่ากับว่าได้เกิดปัญหาทั่วไปหมด ตั้งแต่ไม่รู้จักพระไตรปิฎก ไม่รู้จักความสำคัญของพระไตรปิฎก ไม่รู้ว่าการรักษาสืบทอดพระไตรปิฎกเป็นมาอย่างไร แล้วก็มีความสับสนระหว่างคำสอนของพระพุทธเจ้า ว่าพระองค์สอนอย่างไร กับความคิดเห็นของบุคคลหรือเราแต่ละคนต่อคำสอนนั้นว่าเราคิดอย่างไร ทั้งหมดนี้มองกันไม่ชัดเจน คลุมเครือ และว่ากันเลอะเทอะสับสนไปหมด เพราะฉะนั้นก็แน่นอนว่าจะต้องเกิดปัญหา 
ที่จริงเรื่องนี้ก็ไม่ใช่ว่าจะยากอะไรเลย ก็เพียงแต่แยกให้ถูก ถ้าใครมาถามว่า พระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไร เราจะว่าเอาเองก็ไม่ได้ ก็ต้องว่าไปตามที่พระพุทธเจ้าสอน ก็ไปเอาหลักฐานมาแสดงให้ดู แต่ถ้าเขาถามว่า พระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างนี้แล้ว หรือธรรมะข้อนี้พระพุทธเจ้าสอนไว้ว่าอย่างนี้ คุณจะว่าอย่างไร อันนี้ก็เป็นเรื่องของเราจะว่าเอา เราคิดอย่างไรก็เป็นสิทธิของเรา เป็นเสรีภาพของเราที่จะพูด ว่าธรรมะข้อนั้น พระพุทธเจ้าสอนไว้อย่างนั้นแล้ว เราจะว่าอย่างไร เราก็ว่าตามความเข้าใจของเราได้ 
แต่ที่จริงก็ควรจะศึกษาคำอธิบายของท่านให้ชัดแจ้งก่อนแล้วจึงมาสรุปเอา ถ้าสรุปดีก็ตรงตามที่พระพุทธเจ้าสอน สรุปไม่ดีก็ผิดพลาด ก็ศึกษาค้นคว้าต่อไป แต่อย่างน้อยก็แยกให้ชัดอย่างที่กล่าวมาแล้วว่า พระพุทธเจ้าสอนว่าอย่างไร ก็ว่าไปตามที่ท่านสอน แล้วเราเห็นว่าอย่างไร ก็ว่าไปตามที่เราเห็น เวลานี้คนว่ากันนุงนังสับสนไปหมด 
เมื่อเกิดปัญหาอย่างที่รู้กันอยู่ในปัจจุบัน ก็เป็นโอกาสที่จะต้องมาซักซ้อมในหมู่ชาวพุทธ เพื่อจะสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและปฏิบัติกันให้ถูกต้อง ถ้าชาวพุทธจับหลักในเรื่องนี้ได้ มีความเข้าใจถูกต้อง และมีความตรงไปตรงมา ปฏิบัติด้วยความซื่อตรง พระพุทธศาสนาก็จะยังคงอยู่เป็นหลักเป็นศูนย์รวมชาวพุทธ และมีอยู่เพื่อประโยชน์สุขแก่ประชาชนทั้งหลายสืบต่อไป 

มีพระไตรปิฎกที่สังคายนาไว้ดี
ก็ใช้สังคายนาคนได้ด้วย

ได้พูดมายาวมาก จึงควรสรุปไว้อีกครั้งหนึ่งว่า การสังคายนานั้น เป็นการรักษาพระธรรมวินัยคือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ให้คงอยู่อย่างดีที่สุด คือให้แม่นยำตรงตามที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้เท่าที่เป็นไปได้ 
ระยะเริ่มแรก ก็มีการประมวลรวบรวมและรักษาไว้ 
แต่ระยะหลังต่อๆ มา มีแต่การรักษาอย่างเดียว ให้คงอยู่อย่างเดิม ให้บริสุทธิ์ แม่นยำที่สุด จะตัด จะต่อ จะแต่ง จะเติม อย่างไรไม่ได้ทั้งสิ้น ถ้าไปตัดต่อ หรือแต่งเติม ก็จะกลายเป็นสัทธรรมปฏิรูป คือของปลอมหรือของเทียม 
เพราะฉะนั้น ในยุคที่มีการจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว เวลาสังคายนาก็คือการที่เอาพระไตรปิฎกฉบับต่างๆ เท่าที่มีอยู่เป็นหลักในประเทศต่างๆ มาตรวจสอบทานกัน เช่น ฉบับของไทย ของพม่า ของลังกา เป็นต้น เท่าที่มีอยู่ในประเทศเถรวาทเป็นภาษาบาลี รวมทั้งฉบับอักษรโรมัน ซึ่งก็มาจากแหล่งเดิมอันเดียวกัน ตรงกันอยู่แล้ว แต่เกรงว่าห่างกันนานมาจะคลาดเคลื่อนกันไป สังคายนาในสมัยนี้ก็เป็นการเอาพระไตรปิฎกฉบับของประเทศต่างๆ เหล่านั้น มาตรวจสอบกัน ถ้ามีผิดแผกอะไร ก็ต้องทำเชิงอรรถลงไป และจดหมายเหตุไว้ ผู้ที่ทำสังคายนาไม่มีสิทธิไปแก้ไขดัดแปลงอะไรทั้งสิ้น 
มีแต่ว่าเราจะต้องสังคายนาคน กล่าวคือ คนบางคนบางกลุ่มอาจจะนับถือ เชื่อถือ สั่งสอนผิดแผกไป ก็เอาคนเหล่านั้นมาตรวจสอบกับคำสอนดั้งเดิมในพระไตรปิฎก แล้วก็ปรับให้คนเหล่านั้นสอนให้ถูกต้องตรงตามพระไตรปิฎก อย่างนี้ก็เป็นความหมายที่ขยายออกไปของคำว่า สังคายนาด้วยเหมือนกัน 
เวลานี้จึงเหมือนกับว่า เรามีความหมายของสังคายนา ๒ อย่าง คือ 
๑. สังคายนาพระคัมภีร์ หรือสังคายนาพระไตรปิฎก ได้แก่ตรวจสอบให้คัมภีร์พระไตรปิฎกคงอยู่อย่างเดิม บริสุทธิ์ บริบูรณ์ และแม่นยำที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ไม่มีอะไรแปลกปลอม 
๒. สังคายนาคน เป็นการปรับตัวคนให้สอนให้ตรงตามพระไตรปิฎก ถ้าเราจะไม่ต้องมีการสังคายาคนก็ทำได้โดยที่ว่า พระจะต้องสั่งสอนตรวจสอบตัวเองให้ตรงตามพระไตรปิฎกอยู่เสมอ 
ถ้าพุทธบริษัทไม่เสื่อมโทรม ก็ไม่ต้องมีการสังคายนาคน การที่พุทธบริษัทจะเสื่อมโทรมก็เพราะพากันห่างเหินจากพระธรรมวินัย
เพราะฉะนั้น ถ้าต้องการให้พระพุทธศาสนาเจริญมั่นคง ก็จะต้องมีการศึกษาและสั่งสอนพระธรรมวินัยให้ถูกต้องอยู่เสมอ ผู้ที่ต้องรับผิดชอบโดยตรงในเรื่องนี้ ก็คือพระภิกษุสงฆ์ ซึ่งมีหน้าที่อยู่แล้วว่าจะต้องสั่งสอนพระธรรมวินัย 
ในยามปกติ พระสงฆ์ก็ต้องสั่งสอนอยู่แล้วเป็นประจำ ยิ่งถ้าเกิดเหตุที่แสดงว่าผู้คนไม่รู้ไม่เข้าใจพระธรรมวินัย พระสงฆ์ก็จะยิ่งต้องเอาใจใส่สั่งสอนชี้แจงให้ประชาชนเข้าใจให้ถูกต้องและให้รู้ อย่างน้อยให้รู้ว่า ในพระพุทธศาสนานี้จะใช้อะไรเป็นมาตรฐาน เป็นเกณฑ์ในการตัดสิน ว่าอะไรถูกต้อง อะไรไม่ถูกต้อง เป็นพระธรรมวินัยหรือไม่ นั่นก็คือจะต้องรู้จักพระไตรปิฎก ซึ่งสมัยก่อนคนมีความรู้ความเข้าใจถูกต้องในเรื่องนี้เป็นอย่างดี เพราะฉะนั้น ปัญหาก็จะเกิดขึ้นได้ยาก 
เมื่อเกิดเหตุการณ์คราวนี้ ก็เป็นเครื่องเตือนใจชาวพุทธว่า เราจะต้องหันมารักษาพระธรรมวินัยให้บริสุทธิ์ และรู้จักพระไตรปิฎกที่เป็นตัวหลักเดิมที่รักษาพระธรรมวินัยนั้นไว้ แล้วหันมาฟื้นฟูชาวพุทธให้กลับไปสู่พระธรรมวินัย ให้รู้จักศึกษาพระไตรปิฎกกันอย่างจริงจังอีกครั้งหนึ่ง 
เรื่องความสำคัญของพระไตรปิฎก และการรักษาพระไตรปิฎก คือรักษาพระธรรมวินัยด้วยการสังคายนาเป็นต้น ก็จบเพียงเท่านี้ 

ชวนกันตื่นขึ้นมา
ช่วยกันเรียนและรักษาพระไตรปิฎกกันให้ดี

ขอแถมสักนิดว่า ความจริงเรื่องนี้ก็ไม่ได้ยากอะไร เหมือนอย่างว่า เรามีคุณพ่อคุณแม่ มีครูอาจารย์ หรือคนที่เราเคารพนับถือ เราอยากจะจดจำคำพูดของท่านไว้ ว่าท่านพูดอะไร สอนอะไร เรามีเทปเราก็บันทึกเสียงท่านไว้ ถ้าไม่มี เราก็เอาสมุดจดบันทึกไว้ 
เมื่อท่านสิ้นชีวิตไปแล้ว เราไม่มีโอกาสถามท่านอีก เราก็มีเทปนั้น หรือสมุดที่จดบันทึกไว้นั้น เราก็เอามาเปิดดู ถ้าเราต้องการรักษาคำพูดของท่านไว้ เราก็ต้องรักษาเทปหรือสมุดบันทึกนั้นไว้ให้ดี เพราะถ้าหายไป ก็เป็นอันว่าเราจะไม่มีคำพูดของท่านหรือคำสอนของท่าน 
ยิ่งคนที่ไม่เคยฟังท่าน ไม่เคยอ่านบันทึกนั้น ไม่มีอะไรอยู่ในความทรงจำ ไม่เคยรู้จักเลย ก็เป็นอันหมดทางที่จะรู้ว่า คุณพ่อ คุณแม่ ครูอาจารย์ ได้พูดได้สอนอะไรไว้ 
นี่ก็เหมือนกัน เมื่อเราต้องการจะฟัง จะรู้ จะอ่านคำสอนของพระพุทธเจ้า พระสาวกที่ทันเห็น ทันฟัง ทันเฝ้าพระพุทธเจ้า ท่านก็รวบรวมคำสอนคำตรัสของพระพุทธเจ้าไว้ให้เราแล้วเมื่อสามเดือนหลังพุทธปรินิพพาน แล้วก็เก็บรักษาสืบต่อกันมาให้เราจนถึงปัจจุบันนี้ด้วยความลำบากยากเย็น ก็เป็นหน้าที่ของเราที่จะต้องไปอ่าน ไปศึกษาและเก็บรักษาไว้ต่อไป
ทำไมเราจะไม่รักษาพระไตรปิฎกไว้ ในเมื่อถ้าพระไตรปิฎกหายไปก็คือว่าบันทึกคำตรัสคำสอนของพระพุทธเจ้าก็หมดไป หายไป เราก็ไม่มีคำสอนของพระพุทธเจ้า เราจะไปนั่งฌานเอา เราจะไปพูดแทนท่าน หรือว่ารู้ขึ้นมาเอง ก็ย่อมเป็นไปไม่ได้ อันนี้ก็เป็นเรื่องธรรมดาสามัญ ซึ่งไม่น่าจะเป็นปัญหาขึ้นมาเลย สมัยก่อนก็ไม่เคยมีปัญหาอย่างนี้ 
นับว่าเป็นเรื่องแปลกที่ว่าคนสมัยนี้กลับไม่เข้าใจว่า พระไตรปิฎกคืออะไร ทำไมต้องรักษาพระไตรปิฎก ทำไมต้องเอาพระไตรปิฎกมาเป็นมาตรฐานหรือเป็นเกณฑ์วินิจฉัยว่าอะไรเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า เดี๋ยวก็จะกลายเป็นว่า คำสอนของพระพุทธเจ้า ใครจะว่าอย่างไรก็ได้ เพราะฉะนั้น จึงควรตื่นขึ้นมาช่วยรักษาพระธรรมวินับไว้ให้ดี 

ศูนย์จำหน่ายพระไตรปิฎก และ ศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎกทั่วประเทศ

ภาพงานพิธี ถวายพระไตรปิฎก และ ถวายตู้พระไตรปิฎก โดยคณะเจ้าภาพผู้มีจิตศรัทธา
ได้ใช้สถานที่ของศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎก
เป็นที่ถวายตู้และหนังสือพระไตรปิฎกในราคามูลนิธิ โดย ได้นิมนต์พระสงฆ์ 9 รูปมาเป็นผู้รับพระไตรปิฎก
โดยทางศูนย์ได้เป็นผู้สนับสนุนเอื้อเฟื้อสถานที่ในการทำพิธีถวายพระไตรปิฎกในครั้งนี้
สำหรับท่านใดมีความประสงค์จะขอใช้สถานที่ในการถวายพระไตรปิฎก แด่พระภิกษุสงฆ์ ก็สามารถ
สำหรับท่านที่มีความประสงค์จะถวายพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิฎก
โดยขอใช้สถานที่ดังกล่าวกับทางศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์
ท่านสามารถติดต่อขอใช้สถานที่ของทางศูนย์โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายแต่ประการใด
สามารถติดต่อกับทางศูนย์ได้ที่เบอร์ 087-696-7771, 086-461-8505
ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ตั้งอยู่ที่ ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ติดกับวัดญาณเวศกวัน
ทางศูนย์เปิดบริการให้เข้ามาเยี่ยมชมผลิตภัณฑ์ ตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎกแบบต่างๆ ในราคามูลนิธิ 
ทั้งของ มูลนิธิมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ มูลนิธิของมหามกุฏราชวิทยาลัย
เปิดบริการทุกวันตั้งแต่เวลา 8.00-17.00 น


สำหรับท่านที่ต้องการสั่งชุดหนังสือพระไตรปิฎกแบบครบถ้วนสมบูรณ์
ฉบับที่เป็นมาตรฐาน จัดพิมพ์โดย . . .มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยฯ และมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
และจัดจำหน่ายในราคามูลนิธิมหาวิทยาลัย ทั้ง 2 สถานที่
โดย ศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎกทั่วประเทศ (ไตรลักษณ์)กลุ่มหนังสือพระไตรปิฎกฉบับมาตรฐาน ราคามูลนิธิ

ศูนย์รวมหนังสือธรรมะจัดส่งทั่วไทย
หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย 91 เล่ม ราคา 25000 บาท
 
พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล 91 เล่มฉบับครบ 200 ปี 
แห่งราชวงศ์จักรี กรุงรัตนโกสินทร์มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย   ในพระบรมราชูปถัมภ์ซึ่งหนังสือชุดนี้เป็นพระไตรปิฎก
ฉบับภาษาไทย ทั้งชุดบรรจุอยู่ในกล่องจำนวน 6 กล่อง ที่ดำเนินการจัดส่งทั่วประเทศโดยศูนย์หนังสือไตรลักษณ์
ในราคามูลนิธิของมหามกุฏราชวิทยาลัย ยังไม่รวมค่าจัดส่ง 25,000 บาท

พระไตรปิฎก ฉบับ สยามรัฐ แปลภาษาไทย แล้ว ครบทั้งชุด 45 เล่ม ราคา มูลนิธิ 15000 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย)
 
พระไตรปิฎก ฉบับ สยามรัฐ แปลภาษาไทย แล้ว ครบทั้งชุด 45 เล่ม ราคา มูลนิธิ 15,500 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย) 


หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย 45 เล่ม ราคา 15000 บาท

หนังสือพระไตรปิฎกชุด45เล่มภาษาไทย โดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปัจจุบันได้เปลี่ยน สีปกเป็นสีเหลืองเรียบร้อยแล้วครับ 

หนังสือชุดนี้ เป็นหนังสือฉบับภาษาไทย ทั้งชุด 45 เล่ม แปลจากพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี 45 เล่ม ครบทั้งชุด
ซึ่งจัดส่งโดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ และเป็นหนังสือธรรมะศึกษา สำหรับ
พระภิกษุ สามเณร และประชาชนทั่วไปที่ใคร่ศึกษา หลักพระธรรมในพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง
ในราคามูลนิธิมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 15,000.- บาท ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วประเทศ
ปัจจุบันได้เปลี่ยน สีปกเป็นสีเหลืองเรียบร้อยแล้วครับ 

หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
 

หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย45เล่ม(ปกใหม่) 
#หน้าปกสีเหลือง จัดพิมพ์จำนวนจัดกัดเพียง 1000 ชุด

ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยฯ
ในวาระพิมพ์ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 
: จัดส่งทั่วไทย โดย ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ 
#จัดพิมพ์จำนวนจำกัด1000ชุด #LINE : @trilakbooks

โทร 087-696-7771, 086-461-8505


หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ ส.ธรรมภักดี ราคา 18000 บาท มีจำนวน 100 เล่ม ภาษาไทย
 

พระไตรปิฎก ฉบับภาษาไทย พร้อมอรรถกถาแปล จำนวน 100 เล่ม
หนังสือชุดนี้เป็นหนังสือพระไตรปิฎกฉบับ ส.ธรรมภักดี ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
ในหมู่ผู้ศึกษาพระไตรปิฎก และยังเป็นหนังสือชุดนี้ เอาไว้สำหรับเทียบเคียงพระไตรปิฎกฉบับอื่นๆ 
เพื่อให้เกิดความแม่นยำในการศึกษาหลักธรรมในพระพุทธศาสนาในภาษาฆราวาส ได้อย่างเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น
ราคาหนังสือชุดนี้ ปัจจุบัน 18,000 บาท ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วประเทศ


หนังสือพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย 45 เล่ม ราคา 13000 บาท
 
หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มฉบับภาษาบาลี

ทีเป็นหนังสือชุดแรกที่เผยแพร่ในประเทศไทยในลักษณะรูปเล่ม ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ภายในหนังสือชุดนี้
เป็นพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ตัวอักษรไทย ปัจจุบันหนังสือชุดนี้ราคา 13,000 บาท ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วประเทศ

หนังสือรรถกถาภาษาไทย ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
 
หนังสือชุดอรรถกถาภาษาไทย จำนวน 55 เล่ม ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 20000 บาท 

LINE สำหรับสั่งซื้อโดยตรง : @trilakbooks

หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ 
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks


ชุดหนังสือถวายพระ3610บาท
 
ชุดหนังสือธรรมะเชิงวิชาการ ที่ต่อยอดเพื่อความง่ายในการศึกษาพระไตรปิฎก
ให้มีความกระจ่างและเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น จึงเป็นชุดหนังสือที่เหมาะแก่การศึกษาและ
สามารถนำไปถวายเป็นหนังสือสังฆทานแด่พระภิกษุสงฆ์ได้อีกด้วย
ชุดหนังสือ-ถวายพระสงฆ์-ชุดหลักแห่งพระพุทธศาสนา-3610-บาท


พระไตรปิฎกฉบับพุทธศาสนสุภาษิต ที่คัดเฉพาะ ตัวพุทธศาสนสุภาษิต
ในพระไตรปิฎกอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ พร้อมทั้งที่มาที่ไป ว่า พุทธศาสนสุภาษิตนั้นๆ มีที่มาอย่างไร
จำหน่ายในราคา 1300 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย) คลิ๊ก อ่านรายละเอียดที่นี่ 



LINE สำหรับสั่งซื้อโดยตรง : @trilakbooks

หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ 
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks

 

หนังสือพระไตรปิฎกฉบับกระเป๋า ราคาชุดละ 3500 บาท
 

รายละเอียดหนังสือพระไตรปิฎกฉบับกระเป๋า 

1. พระไตรปิฎกฉบับกระเป๋า 1 ชุด มีทั้งหมด 40 เล่ม 
(พระวินัยปิฎก เล่ม 1-9 พระสุตตันตปิฎก เล่ม 10-33 พระอภิธรรมปิฎก เล่ม 34-40) 
2. ขนาดหนังสือพระไตรปิฎกเท่ากระดาษ A4 พับครึ่ง ปก 4 สี อาบมัน ปั๊มนูนอาบสปอต พิมพ์ด้วยกระดาษถนอมสายตาเกรด A อ่านสบายตา 
3. กล่องบรรจุพระไตรปิฎกทำด้วยกระดาษแข็งอย่างดี ทนทาน 
จัดเข้าชั้นหนังสือได้ทันที ไม่ต้องหาตู้ใส่พระไตรปิฎกแยกต่างหาก

ต้องการร่วมเป็นส่วนหนึ่งในโครงการ “ชวนชาวพุทธอ่านพระไตรปิฎก” 
เป็นกิจวัตรประจำวัน
 โดยการอ่านพระไตรปิฏกฉบับกระเป๋า วันละ 5 หน้าเป็นอย่างน้อย โดยตั้งมโนปณิธานอย่างแน่วแน่และมั่นคงว่า 
ชาตินี้จะอ่านพระไตรปิฎกให้จบสัก 1 รอบเป็นอย่างน้อยให้สมกับที่ได้เกิดมาเป็นชาวพุทธพบพุทธศาสนา เชิญท่านสั่งซื้อพระไตรปิฎกฉบับกระเป๋า 
เพื่อเอาไว้อ่านในครอบครัวของท่านเอง  เพื่อถวายวัดถวายพระภิกษุสงฆ์  
มอบให้โรงเรียน มอบให้ห้องสมุดต่าง ๆ
หรือมอบเป็นธรรมบรรณาการแด่บุคคลที่เคารพนับถือ
LINE สำหรับสั่งซื้อโดยตรง : @trilakbooks

หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ 
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks

พระไตรปิฎก (ฉบับสำหรับประชาชน) รุ่นปกหนัง ขอบทอง ราคา 500 บาท
 
หนังสือพระไตรปิฎกฉบับนี้เป็นหนังสือที่ได้ทำการจัดพิมพ์ใหม่ทั้งเล่ม แต่เนื้อหาและเนื้อใน
ของหนังสือ เหมือนเดิมกับ พระไตรปิฎก ฉบับปกสีเขียวปกแข็ง ทุกประการ
แต่ตัวหนังสือขนาดที่ใหญ่ขึ้น และ เพิ่มภาพประกอบการสังคายนาพระไตรปิฎกเข้าไปใหม่
ในรูปปกปกหนังและความพิเศษของขอบกระดาษหนังสือเป็นสีทอง ทั้งเล่ม
จัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย เช่นเดิมครับ 
หนังสือพระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน พิมพ์ใหม่ล่าสุด ราคา 500 บาท 



คัมภีร์วิสุทธิมรรค 600 บาท
 
คัมภีร์วิสุทธิมรรคฉบับภาษาบาลี เป็นผลงานรจนาของพระพุทธโฆสะเถระ
นักปราชญ์ชาวอินเดีย รจนาขึ้น เมื่อ พุทธศักราช 956 ในคณะสงฆ์คณะมหาวิหาร 
ณ กรุงอนุราธปุระประพเทศลังกา (ศรีลังกา)สำหรับคัมภีร์วิสุทธิมรรค ฉบับแปลเป็นภาษาไทยฉบับนี้
เป็นผลงานแปลและเรียบเรียงโดยเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทฒาจารย์ (อาจ อาสภเถร) 
อดีตอธิบดีสงฆ์วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ 
ซึ่งเป็นฉบับที่ได้รับความนิยมของท่านผู้สนใจใฝ่ศึกษาค้นคว้าหลักธรรมและปฏิบัติธรรมทั่วไป 
ให้การยอมรับว่าเป็ฯสำนวนการแปลที่อ่านเข้าใจง่าย 
การแปลและเรียบเรียงคำนึงถึงผู้ที่มีพื้นฐานความรู้ภาษาบาลีน้อยจะอ่านเข้าใจยากเป็นความสำคัญ 
จึงได้นำข้อความบางส่วนในคัมภีร์ปรมัตถมัญชุสามหาฎีกามาขยายเสริมความทำให้อ่านเข้าใจง่ายและชัดเจนยิ่งขึ้น
LINE สำหรับสั่งซื้อโดยตรง : @trilakbooks

หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ 
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks

พระไตรปิฎก ฉบับประชาชน พระไตรปิฎกไตรมาส เล่มเดียวจบ โดย ปุ้ย แสงฉาย อนงคาราม (5 มกราคม 2435- 9 พฤศจิกายน 2524)
 
หนังสือพระไตรปิฎก ประชาชน 
หรือไตรมาส เล่มเดียวจบ ที่รวบรวมและเรียบเรียงโดย
ปุ้ย แสงฉาย อนงคาราม เล่มนี้  เป็นหนังสือที่มีท่านที่สนใจ หลายท่าน
ได้สอบถามกับ ศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ 
จึงได้นำมาเผยแพร่ ในราคาเดียวกันกับ สำนักพิมพ์ ส.ธรรมภักดี
พระไตรปิฎก เล่มนี้ เป็นหนังสือปกแข็ง 
เย็บกี่ กระดาษปอนด์ สีขาว ตัวหนังสือ ขนาด 18 P
ซึ่งถือว่า เป็นเป็นขนาดตัวอักษร ขนาดใหญ่ 
จึงเหมาะสำหรับท่านผู้มีปัญหาสายตา ว่าจะสามารถอ่านได้อย่างสบาย
หนังสือพระไตรปิฎกฉบับเล่มเดียวจบ เล่มนี้นั้น ราคาเล่มละ 500 บาท

วิมุตติมรรค ทางแห่งความหลุดพ้น
 

วิมุตติมรรค ทางแห่งความหลุดพ้น
พระอุปาติสสเถระ : รจนา
(พิมพ์ใหม่ล่าสุด พิมพ์ปี 2560 : โดยมูลนิธิมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยปกแข็งเย็บกี่อย่างดี)
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) และคณะ : แปล จากภาษาอังกฤษ

วิมุตติมรรค ทางแห่งความหลุดพ้น
พระอุปาติสสเถระ : รจนา
(พิมพ์ใหม่ล่าสุด พิมพ์ปี 2560 : โดยมูลนิธิมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยปกแข็งเย็บกี่อย่างดี)
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) และคณะ : แปล จากภาษาอังกฤษ
ของพระเอฮารา พระโสมเถระ และ พระเขมินทเถระ
พิมพ์เผยแพร่ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
จำนวน 538 หน้า // ขนาด 16*21.5 เซนติเมตร  // ปกแข็งเย็บกี่อย่างดี
หมายเลข ISBN : 978-616-300-339-3
อ่านรายละเอียดหนังสือเล่มนี้เพิ่มเติมที่
http://www.trilakbooks.com/product/1949383/วิมุตติมรรค-ทางแห่งความหลุดพ้น-ราคาเล่มละ300บาท.html  
--- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- ---
ราคาจัดพิมพ์เผยแพร่ ในราคามูลนิธิฯ 300 บาท
มีค่าจัดส่ง EMS 80 บาท ต่อ 1 เล่ม
**หากสั่งให้ส่งจำนวนหลายเล่ม ศูนย์จัดส่งจะประมวลค่าจัดส่งให้ใหม่ 
ในราคาบริษัทขนส่งเอ็กเพรส ทั่วไทย ในราคาที่ถูก ตาม ที่อยู่ที่ให้จัดส่ง ของลูกค้าต่อไปฯ**
--- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- ---

LINE สำหรับสั่งซื้อโดยตรง : @trilakbooks

หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ 
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks

--- --- --- --- --- --- --- 

ชุดหนังสือ วิสุทธิมรรค-และ-วิมุตติมรรค-900บาท
 

... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ...
ชุดหนังสือ วิสุทธิมรรค-และ-วิมุตติมรรค-900บาท
เป็นหนังสือที่มีความเกี่ยวเนื่องล้อกันอยู่ถึงแม้จะถูกรจนาขึ้นต่างยุคต่างสมัยก็ตาม
จำนวน 2 เล่ม นี้จึงเป็นที่นิยมใช้ และนำไปเป็นหลักอ้างอิงเชิงพระพุทธศึกษาในวงกว้าง
--- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- ---
ราคาจัดพิมพ์เผยแพร่ ในราคามูลนิธิฯ 900 บาท
มีค่าจัดส่ง EMS 250 บาท ต่อ 1ชุด 
รวมเป็นชุดละ 1150 บาท
--- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- ---
อ่านรายละเอียดหนังสือเล่มนี้เพิ่มเติมที่
http://www.trilakbooks.com/product/1961522/ชุดหนังสือวิมุตติมรรค-และ-คัมภีร์วิสุทธิมรรค-900บาท.html  

LINE สำหรับสั่งซื้อโดยตรง : @trilakbooks

หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ 
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks

--- --- --- --- --- --- --- 



ชุดหนังสือ ภาษาไทย - อังกฤษ
หนังสือพระไตรปิฎกฉบับสากล-และ-COMMON-BUDDHIST-TEXE
2 เล่ม ชุดละ 860 บาท + ค่าจัดส่ง 150 บาท (เคอรี่ทั่วประเทศ)


หนังสือพระไตรปิฎก สำหรับประชาชน ราคา 500 บาท ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย
 
พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน 
เดิม ย่อจากพระไตรปิฎก ๔๕ เล่มเป็นภาษาไทย ๕ เล่ม แล้วรวม ๕ เล่มนั้นพิมพ์ให้เป็นเล่มเดียวเพื่อมิให้กระจัดกระจาย
และสรุปความให้เหลือเพียบ 1 เล่ม เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ และให้เป็นหนังสืออ้างอิงทางวิชาการ
เพื่อให้เป็นหนังสือที่ต่อยอดในการศึกษาพระไตรปิฎกฉบับเต็ม ต่อไป ในราคามูลนิธิ 500 บาท 
LINE สำหรับสั่งซื้อโดยตรง : @trilakbooks

หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ 
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks

 

พระไตรปิฎกฉบับคัดสรร

พระไตรปิฎกใบลานพระไตรปิฎกใบลาน ขอบใบลานทอง ต้องบอก ว่า พระไตรปิฎกใบลานนี สำหรับถวายพระภิกษุ

 

 

หนังสือพุทธธรรม ฉบับ ปรับขยาย ล่าสุด ราคาเล่มละ 700 บาท
 
พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์เผยแพร่
หนังสือ ปกแข็ง หุ้มหนังอย่างดี เย็บกี่
กระดาษ ถนอมสายตาสีครีม
จำนวน 1360 หน้า
จัดพิมพ์ครั้งที่ 39 พ.ศ. 2557
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย จำนวน 15,000 เล่ม
อ่านรายละเอียดหนังสือเล่มนี้ ที่ 
http://www.trilakbooks.com/product/275612/หนังสือพุทธธรรม-700บาท.html  

LINE สำหรับสั่งซื้อโดยตรง : @trilakbooks

หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ 
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks

 

ชุดหนังสือมิลินทปัญหา และ หนังสือ สัตตปัพพบุพพสิกขา
 

ชุดหนังสือ มิลินทปัญหา 
และ สัตตปัพพบุพพสิกขาและบุพพสิกขาวรรณนา
กระดาษถนอมสายตา // จำนวน 2 เล่ม
โรงพิมพ์ มหามกุฏราชวิทยาลัย
ขนาด 15.3 x 23 cm ราคา 
ชุดละ 700 บาท + ค่าส่ง EMS 150 บาท
รวมเป็น 850 บาท

LINE สำหรับสั่งซื้อโดยตรง : @trilakbooks

หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ 
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks 

---------------------------------------------

Tags : หนังสือพระไตรปิฎก หนังสือไตรปิฎก

view

 หน้าแรก

 บทความ

 เว็บบอร์ด

รวมรูปภาพ

ติดต่อเรา

view