สถิติ
เปิดเว็บ | 15/04/2010 |
อัพเดท | 13/11/2024 |
ผู้เข้าชม | 11,382,268 |
เปิดเพจ | 17,032,240 |
สินค้าทั้งหมด | 2,001 |
ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์-ชุดจากพระโอษฐ์
ข้อมูลสินค้า
-
รหัสสินค้า
4แถบน้ำตาล
-
เข้าชม
15,512 ครั้ง
ยี่ห้อ
ธรรมโฆษณ์
รุ่น
ปกแข็งเย็บกี่อย่างดี ปั๊มทอง
-
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
23/05/2011 00:00
-
รายละเอียดสินค้า
ชุด-ธรรมโฆษณ์ ของ ท่านพุทธทาส
เรื่อง ปฏิจจสมุปบาท จากพระโอษฐ์
จัดพิมพ์ โดย ธรรมทานมูลนิธิ ไชยา
จำนวน 941 หน้า
(การนับจำนวนหน้าของหนังสือ จะนับเฉพาะส่วนหน้าหา ไม่นับส่วน คำนำ สารบาญ และส่วนท้าย)
www.trilakbooks.com ไตรลักษณ์ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน
หรือดูรายละเอียดหนังสือชุึดธรรมโฆษณ์ เพิ่มเติม อีก ได้ที่ http://trilakbooks.blogspot.com/
.......................................................................................................................................
รายชื่อหนังสือชุด ธรรมโฆษณ์
รายชื่อหนังสือ
เลขประจำเล่ม
ราคา
๑. พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
๑
350
๒. อิทัปปัจยตา
๑๒
300
๓. สันทัสเสตัพธรรม
๑๓
250
๔. ธรรมบรรยายระดับมหาวิทยาลัย เล่ม ๑
๓๖
250
๕. พุทธิกจริยธรรม
๑๘
250
๖. ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์
๓
300
๗.โอสาเรตัพพธรรม
๑๓.ก
250
๘. พุทธจริยา
๑๑
250
๙. ตุลาการิกธรรม เล่ม ๑
๑๖
250
๑๐. มหิดลธรรม
๑๗.ข
250
๑๑. บรมธรรม ภาคต้น
๑๙
250
๑๒. บรมธรรม ภาคปลาย
๑๙.ก
250
๑๓. อานาปนสติภาวนา
๒๐.ก
300
๑๔. ธรรมปาฎิโมกข์ เล่ม ๑
๓๑
250
๑๕. สุญญตาปริทรรศ์ เล่ม ๑
๓๘
250
๑๖. ค่ายธรรมบุตร
๓๗
250
๑๗. ฆราวาสธรรม
๑๗.ก
200
๑๘. ปรมัตถสภาวธรรม
๑๔.ก
250
๑๙. ปฏิปทาปริทรรศน์
๑๔
250
๒๐. ธรรมบรรยายระดับมหาวิทยาลัย เล่ม ๒
๓๖.ก
250
๒๑. สุญญตาปริทรรศน์ เล่ม ๒
๓๘.ก
250
๒๒. เตกิจฉกธรรม
๓๗.ง
250
๒๓. โมกขธรรมประยุกต์
๑๗.ค
250
๒๔. ศารทกาลิกเทศนา เล่ม ๑
๒๖
300
๒๕. ศีลธรรม กับ มนุษย์โลก
๑๘.ข
250
๒๖. อริยศีลธรรม
๑๘.ค
200
๒๗. การกลับมาแห่งศีลธรรม
๑๘.ก
250
๒๘. ธรรมสัจจสงเคราะห์
๑๘.ข
300
๒๙. ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
๔
500
๓๐. ธรรมะกับการเมือง
๑๘.จ
300
๓๑. เยาวชนกับศีลธรรม
๑๘.ง
200
๓๒. เมื่อธรรมครองโลก
๑๘.ฉ
250
๓๓. ไกวัลยธรรม
๑๒.ก
250
๓๔. อาสาฬหบูชาเทศนา เล่ม ๑
๒๔
300
๓๕. มาฆบูชาเทศนา เล่ม ๑
๒๒
300
๓๖. พระพุทธคุณบรรยาย
๑๑.ก
400
๓๗. วิสาขบูชาเทศนา เล่ม ๑
๒๓
300
๓๘. ชุมนุมล้ออายุ เล่ม ๑
๔๒.ก
300
๓๙. ธรรมบรรยายต่อหางสุนัข
๓๙.ค
300
๔๐. เทคนิคของการมีธรรมะ เล่ม ๑
๓๗.ก
300
๔๑. อะไร คือ อะไร
๓๗.ค
300
๔๒. ใคร คือ ใคร
๓๗.ข
300
๔๓. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น - ภาคปลาย
๒
700
๔๔. ราชภโฎวาท
๓๙.ง
300
๔๕. กข กกา ของการศึกษาพุทธศาสนา
๑๔.ค
250
๔๖. ธรรมะเล่มน้อย
๔๐
250
๔๗. ใจความแห่งคริสตธรรมเท่าที่พุทธบริษัทควรทราบ
๔๔.ก
300
๔๘. ธรรมปาฎิโมกข์ เล่ม ๒
๓๑.ก
300
๔๙. ฟ้าสางระหว่าง ๕๐ ปี ตอน ๑
๔๖.ค
300
๕๐. ฟ้าสาวระหว่าง ๕๐ ปี ตอน ๒
๔๖.ง
300
๕๑. ชุมนุมปาฐกถาธรรมชุด"พุทธรรม"
๓๒
250
๕๒. สมถวิปัสนาแห่งยุคปรมาณู
๑๔.ข
250
๕๓. นวกานุสาส์น เล่ม ๑
๓๙
300
๕๔. สันติภาพของโลก
๑๘.ข
250
๕๕. ธรรมะกับสัญชาตญาณ
๑๕
250
๕๖. ธรรมศาสตรา เล่ม ๑
๔๐.ก
300
๕๗. อตัมมยตาประยุกต์
๑๒.ข
300
๕๘. ธรรมะในฐานะวิทยาศาสตร์
๑๕.ข
300
๕๙. อตัมมยตาประทีป
๑๒.ง
300
๖๐. อตัมมยตาปริทรรศน์
๑๒.ค
300
๖๑. สันทิฏฐิกธรรม
๑๓.ข
250
๖๒. พุทธธรรมประยุกต์
๑๗.จ
250
๖๓. สัมมัตตานุภาพ
๔๐.ฉ
250
๖๔. ตุลาการิกธรรม เล่ม ๒
๑๖.ก
250
๖๕. โพธิปักขิยธรรมประยุกต์
๑๔.ง
300
๖๖. คู่มือการศึกษาพุทธศาสนา
๔๐.ข
250
๖๗. อานาปานสติบรรยาย-อภิปราย-สัมมนา
๒๐.ค
300
๖๘. พัสสิกไตรเทศนา
๒๕.ง
250
๖๙. ตุลาการิกธรรม เล่ม ๓
๑๖.ข
250
๗๐. คู่มือที่จำเป็นในการศึกษาและปฏิบัติธรรม
๔๐.ช
250
๗๑. ธรรมะคือเรื่องของธรรมชาติ
๓๗.ง
300
๗๒. มนุสสธรรม
๑๗
400
๗๓. พุทธวิธีชนะความทุกข์
๑๔.จ
300
๗๔. หลักพุทธศาสนาที่ยังเข้าใจผิดกันอยู่
๑๔.จ
300
๗๕. ปัญหาแห่งมนุษยภาพ
๑๗.ฉ
300
๗๖. เทคนิคของการมีธรรมะ เล่ม ๒
๓๗.จ
400
หนังสือชุดธรรมโฆษณ์ แบ่งออกเป็นห้าหมวด
๑ หมวดที่หนึ่ง ชุด "จากพระโอษฐ์" สันปกสีน้ำตาล ๑–๑๐
เป็นเรื่องเก็บมาเฉพาะที่ตรัสเล่าไว้เอง.
๒ หมวดที่สอง ชุด "ปกรณ์พิเศษ" สันปกสีแดง ๑๑–๒๐
เป็นคำอธิบายข้อธรรมะที่เป็นหลักวิชาและหลักปฏิบัติอย่างสมบูรณ์.
๓ หมวดที่สาม ชุด "ธรรมเทศนา" สันปกสีเขียว ๒๑–๓๐
เป็นเทศนาตามเทศกาลต่างๆ.
๔ หมวดที่สี่ ชุด "ชุมนุมธรรมบรรยาย" สันปกสีน้ำเงิน ๓๑–๔๐
เป็นการบรรยายในรูปปาฐกถาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างละเอียด.
๕ หมวดที่ห้า ชุด "ปกิณกะ" สันปกสีม่วง ๔๑–๕๐
เป็นการอธิบายข้อธรรมะเบ็ดเตล็ดต่างๆ ประกอบความเข้าใจ.
ในแต่ละหมวด แต่ละหมายเลข อาจมีได้หลายเล่ม ซึ่งได้ใช้วิธีใส่อักษร ก ข ค… ต่อกันไปเรื่อยๆ.............................................................................................
ชื่อเรื่อง ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ เล่มที่ ๔
d02901
สารบาญสรุป
แห่งปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
หน้า
๑. บทนำ ว่าด้วยเรื่องที่ควรทราบก่อนเกี่ยวกับปฏิจจฯ ๑-๒๐
๒. หมวดที่ ๑ ว่าด้วย ลักษณะ-ความสำคัญ-วัตถุประสงค์ของเรื่องปฏิจจฯ ๒๑-๗๖
๓. หมวดที่ ๒ ว่าด้วยปฏิจจฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณ์แบบ ๗๗-๑๑๗
๔. หมวดที่ ๓ ว่าด้วยบาลีที่แสดงว่าปฏิจจฯ ไม่ใช่เรื่องข้ามภพข้ามชาติ ๑๑๙-๑๔๔
๕. หมวดที่ ๔ ว่าด้วยปฏิจจฯ เกิดได้เสมอในชีวิตประจำวัน ๑๔๕-๑๗๗
๕. หมวดที่ ๕ ว่าด้วยปฏิจจฯ ทีแสดงการเกิดดับแห่งกิเลสและความทุก ๑๗๙-๒๓๔
๗. หมวดที่ ๖ ว่าด้วยปฏิจจฯ ที่ตรัสในรูปของการปฏิบัติ ๒๓๕-๓๗๐
๘. หมวดที่ ๗ ว่าด้วยโทษของการไม่รู้และอานิสงส์ของการรู้ปฏิจจฯ ๓๗๑-๔๕๖
๙. หมวดที่ ๘ ว่าด้วยปฏิจจฯ เกี่ยวกับความเป็นพระพุทธเจ้า ๔๕๗-๔๙๗
๑๐. หมวดที่ ๙ ว่าด้วยปฏิจจฯ กับอริยสาวก ๔๙๙-๕๔๓
๑๑. หมวดที่ ๑๐ ว่าด้วยปฏิจจฯ นานาแบบ ๕๔๕-๖๕๙
๑๒. หมวดที่ ๑๑ ว่าด้วยลัทธิหรือทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ ๖๖๑-๗๗๓
๑๓. หมวดที่ ๑๒ ว่าด้วยปฏิจจฯ ที่ส่อไปในทางภาษาคน-เพื่อศีลธรรม ๗๗๕-๗๙๓
๑๔. บทสรุป ว่าด้วยคุณค่าพิเศษของปฏิจจฯ ๗๙๕-๘๑๓
(๑๐)
ลำดับเรื่อง
ในปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
หน้า
อักษรย่อยชื่อคัมคีร์ (๖)
คำปรารภของคณะธรรมทานมูลนิธิ (๗)
แถลงการณ์ของผู้จัดทำ (๘)
คำชี้แจงการศึกษาเรื่องปฏิจจฯ (๒๗-๑๑๔)
บทนำ
ว่าด้วยเรื่องที่ควรทราบก่อนเกี่ยวกับปฏิจจฯ ๘ เรื่อง
สังคีติกาจารย์เล่าเรื่องการทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาทหลังการตรัสรู้ ๕
ทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท และเปล่งอุทาน ในปฐมยาม ๕
ทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท และเปล่งอุทาน ในมัชฌิมยาม ๗
ทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท และเปล่งอุทาน ในปัจฉิมยาม ๙
สิ่งที่เรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท ๑๑
เห็นปฏิจจสมุปบาท คือเห็นพระพุทธองค์ ๑๒
ปฏิจจสมุปบาท คืออริยญายธรรม ๑๓
คนเราจิตยุ่ง เพราะไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ๑๕
ปฏิจจสมุปบาท เป็นชื่อแห่งทางสายกลาง ๑๕
ทรงแนะนำอย่างยิ่ง ให้ศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท ๑๖
คนเราไม่ปรินิพพานในทิฏฐธรรม เพราะไม่สามารถตัดกระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ๑๗
ปัจจัยที่ทำให้ไม่ปรินิพพานในทิฏฐธรรม ๑๘
ปัจจัยที่ทำให้ปรินิพพานในทิฏฐธรรม ๑๙
(๑๑)
หมวดที่ ๑
ว่าด้วยลักษณะ-ความสำคัญ-วัตถุประสงค์ของเรื่องปฏิจจฯ ๑๘ เรื่อง
ก. ว่าด้วยลักษณะ ๖ เรื่อง คือ :-
ความหมายของปฏิจจสมุปบาท แต่ละอาการ ๒๕
อุทเทส ฝ่ายสมุทยวาร ๒๖
นิทเทส ของแต่ละอาการ ๒๖
ปฏิจจสมุปบาทแต่ละอาการ เป็นปฏิจจมุปปันนธรรม ๒๙
ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาท อย่างวิธีถามตอบ ๓๑
ปัจจยาการแม้เพียงอาการเดียว ก็ยังตรัสเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท ๓๔
แม้แสดงเพียงผัสสะให้เกิดเวทนา ก็ยังเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท ๓๘
ทรงเปรียบปฏิจจสมุปบาท ด้วยการขึ้นลงของน้ำทะเล ๔๑
ข. ว่าด้วยความสำคัญ ๖ เรื่อง คือ :-
การเห็นปฏิจจสมุปบาท ชื่อว่าการเห็นธรรม ๔๒
ปฏิจจสมุปบาท คือกฎแห่งธรรมฐิติ-ธรรมนิยาม ๔๓
ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องลึกและดูลึก ๕๒
ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องซึ้งเท่ากับเรื่องนิพพาน ๕๓
ความดำริของพระพุทธเจ้าวิปัสสี่ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกัน ๕๔
นรกเพราะไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ร้อนยิ่งกว่านรกไหนหมด ๕๕
ความเร่าร้อนเพราะไม่รู้อริยสัจสี่ ๕๗
ความไม่เร่าร้อน (ปฏิปักขนัย) เพราะรู้อริยสัจสี่ ๕๗
ผู้แสดงธรรมโดยหลักปฏิจจสมุปบาทเท่านั้น จึงชื่อว่า "เป็นธรรมกถึก" ๕๙
(๑๒)
ค. ว่าด้วยวัตถุประสงค์ ๖ เรื่อง คือ :-
ปฏิจจสมุปบาท ทำให้อยู่เหนือความมีและความไม่มีของสิ่งทั้งปวง ๖๑
ไม่มีผู้นั้นหรือผู้อื่น ในปฏิจจสมุปบาท ๖๒
กายนี้ไม่ใช่ของใคร เป็นเพียงกระแสปฏิจจสมุปบาท ๖๔
ปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรมที่ทรงแสดง เพื่อไม่ให้รู้สึกว่ามีสัตว์บุคคลตัวตนเราเข้า ๖๕
ปฏิจจสมุปบาทมีหบักว่า "ไม่มีตนเอง ไม่มีผู้อื่น ที่ก่อสุขและทุกข์" ๖๘
การรู้ปฏิจจสมุปบาท เป็นหลักการพยากรณ์อรหัตตผล ๗๑
หมวดที่ ๒
ว่าด้วยปฏิจจฯ คือเรื่องอริยสัจสมบูรณ์แบบ ๙ เรื่อง
เรื่องปฏิจจสมุปบาท คือเรื่องอริยสัจ ๘๑
ปฏิจจสมุปบาททุกอาการ มีลักาณะแห่งความเป็นอริยสัจสี่ ๘๔
นิทเทส ของปฏิจจฯ แต่ละอาการโดยนัยแห่งอริยสัจสี่ ๘๖
รู้อาการปฏิจจฯ โดยนัยอริจสี่ ทรงเรียกว่าผู้ยืนจดประตูอมตะ ๙๐
คำกล่าวของพระสารีบุตรซึ่งมีใจความส่วนใหญ่ตรงกัน ๙๓
ปฏิจจสมุปบาทซึ่งแสดง การก่อขึ้นแห่งทุกข์ ๙๖
ปฏิจจสมุปบาทซึ่งแสดง การดับลงแห่งทุกข์ ๙๘
อริยสัตในรูปแห่งปฏิจจสมุปบาท มีในขณะแห่งเวทนา ๑๐๑
อาการที่ยุ่งยากที่สุดของปฏิจจสมุปบาท คืออาการของตัณหา ๑๐๑
ตัณหาวิจริตจับยึดขันธ์ภายใน (ในรูปของทิฏฐิ) ๑๘ ประการ ๑๐๒
ตัณหาวิจริตจบยึดขันธ์ภายนอก )ในรูปของทิฏฐิ) ๑๘ ประการ ๑๐๓
สรุปตัณหาวิจริต ๑๐๘ ประการ ๑๐๕
(๑๓)
ความเหนียวแน่นของสัสสตทิฏฐิ ปิดบังการเห็นอริยสัจสี่จึงสงสัยต่อหลักของอรยสัจหรือ
ปฏิจจสมุปบาท ๑๐๖
นัตถิกทิฏฐิปิดบังการเห็นอริยสัจสี่ จึงสังสัยต่อหลักของอริยสัจหรือปฏิจจสมุปบาท ๑๐๘
ลักษณะของนัตถิกทิฏฐิ ๑๐๙
ปฏิจจสมุปบาท รวมอยู่ในบรรดาเรื่องที่ใครคัดค้านไม่ได้ ๑๑๒
ธาตุ ๖ ประการ ในฐานะเรื่องที่ใครคัดค้านไม่ได้ ๑๑๓
ผัสสายตนะ ๖ ประการ ในฐานะเรื่องที่ใครคัดค้านไม่ได้ ๑๑๓
มโนปวิจาร ๑๘ ประการ ในฐานะเรื่องที่ใครคัดค้านไม่ได้ ๑๑๔
อริยสัจ ๔ ประการ ในฐานะเรื่องที่ใครคัดค้านไม่ได้ ๑๑๕
หมวดที่ ๓
ว่าด้วยบาลีที่แสดงว่า ปฏิจจฯ ไม่ใช่เรื่องข้ามภพข้ามชาติ ๙ เรื่อง
ปฏิจจสมุปบาทมี เมื่อมีการกระทบทางอายตนะ ๑๒๓
ปฏิจจสมุปบาทดับได้กลางสาย ๑๒๕
นันทิเกิดเมื่อใด ก็มีปฏิจจสมุปบาทเมื่อนั้น ๑๒๗
นันทิดับเมื่อใด ปฏิจจสมุปบาทดับเมื่อนั้น ๑๒๙
ในภาษาปฏิจจสมุปบาท กรรมให้ผลในอัตตภาพที่กระทำกรรม ๑๓๑
กุศลกรรมสามละไปได้ในตัวเอง เมื่อสิ้นราคะ โทสะ โมหะ ๑๓๔
เห็นปฏิจจมุปบาท คือฉลาดในเรื่องกรรม ๑๓๗
นามรูปหยั่งลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ ๑๓๘
นามรูปไม่หยั่งลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ ๑๓๙
ปฏิจจสมุปบาทที่ตรัสระคนกับปัญจุปาทานขันธ์ ๑๔๑
(๑๔)
หมวดที่ ๔
ว่าด้วยปฏิจจฯ เกิดได้เสมอในชีวิตประจำวัน ๑๒ เรื่อง
ปฏิจจสมุปบาทจะมีได้แก่ทารกเฉพาะที่โตขึ้นถึงขนาด รู้สึกยึดถือในเวทนา ๑๔๙
ปัจจาการแห่งเวทนา โดยละเอียด ๑๕๒
ปัจจยาการแห่งเวทนาที่ตรัสมากออกไปอีกบางประการ (อีกสูตรหนึ่ง) ๑๕๓
อายตนะ คือจุดตั้งต้นของปฏิจจสมุปบาท ๑๕๖
การเกิดขึ้นแห่งไตรทวาร ขึ้นอยู่กับการเกิดขึ้นแห่งอวิชชาของปฏิจจสมุปบาท ๑๕๘
ปฏิปักขนัย : ความดับไม่เหลือแห่งอวิชชา ๑๖๒
อวิชชาสัมผัส คือต้นเหตุอันแท้จริงของปฏิจจสมุปบาท ๑๖๓
อุปาทานขันธ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งการถึงทับจับฉวย ๑๖๔
ความมีอยู่และความไม่มีอยู่แห่งการถึงทับจับฉวย ๑๖๕
นามรูปก้าวลง เมื่ออนุสัยก่อขึ้น ๑๖๖
ตัณหาเกิดขึ้น เมื่ออนุสัยก่อขึ้น ๑๖๗
ภพใหม่เกิดขึ้น เมื่ออนุสัยก่อขึ้น ๑๖๙
การหยั่งลงแห่งวิญญาณเกิดมีขึ้น เมื่อเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ ๑๗๐
การหยั่งลงแห่งวิญญาณไม่มี เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ ๑๗๑
การเกิดแห่งโลก คือการเกิดแห่งการแสปฏิจจสมุปบาทที่เกิดขึ้นในใจคนทุกคราวไป ๑๗๓
การดับแห่งโลก คือการดับแห่งกระแสปฏิจจสมุปบาทที่ดับลงในใจคนทุกคราวไป ๑๗๕
(๑๕)
หมวดที่ ๕
ว่าด้วยปฏิจจฯ ที่แสดงการเกิดดับแห่งกิเลสและความทุกข์ ๑๕ เรื่อง
ทรงแสดงอัตตวาทุปาทานในลักษณะแห่งปฏิจจสมุปบาท ๑๘๓
การบัญญัติอุปาทานในลัทธิอื่น (ซึ่งมีเพียงสาม) ๑๘๔
การบัญญัติอุปาทานในธรรมวินัยนี้ (ซึ่งมีครบสี่) ๑๘๕
ปัจจยาการแห่งอุปาทาน ๑๘๕
เทวนาในปฏิจจสมุปบาท ให้เกิดอนุสัยสาม ๑๘๘
ปฏิจจสมุปบาทแห่งการเกิดสังขาร ๔ ประเภท ๑๙๒
สังขารชนิดที่หนึ่ง ๑๙๒
สังขารชนิดที่สอง ๑๙๖
สังขารชนิดที่สาม ๑๙๗
สังขารชนิดที่สี่ ๑๙๘
การดับตัณหาเสียได้ก่อนแต่จะเกิดอุปาทาน ๑๙๙
การสิ้นกรรม ตามแบบของปฏิจจสมุปบาท ๒๐๒
สตตวิหารธรรมอันเป็นผลแห่งการสิ้นกรรม (พร้อมด้วยอุปมา) ๒๐๔
อายตนะยังไม่ทำหน้าที่ ปัญจปาทานขันธ์ก็ยังไม่เกิด ๒๐๗
ปัญจุปาทานขันธ์เพิ่งจะมี เมื่อเกิดเวทนาในปฏิจจสมุปบาท ๒๑๓
การเกิดแห่งโลก คือการเกิดแห่งปฏิจจสมุปบาท ๒๑๖
ทุกข์เกิด เพราะเห็นอุปาทานิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ ๒๑๘
ทุกข์เกิด เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ ๒๑๙
แดนเกิดแห่งทุกข์-โรค-ชรามรณะ ๒๒๐
การดับแห่งโลก คือการดับแห่งปฏิจจสมุปบาท ๒๒๗
ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัสอย่างเข้าใจง่ายที่สุด ๒๒๙
ทุกข์ดับ เพราะเห็นอุปาทานิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ ๒๓๑
ทุกข์ดับ เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ ๒๓๓
(๑๖)
หมวดที่ ๖
ว่าด้วยปฏิจจฯ ที่ตรัสในรูปของการปฏิบัติ ๓๘ เรื่อง
ตรัสว่า เรื่องปฏิจจสมุปบาท เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ๒๓๙
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องเที่ยวแสวงหาครู ๒๔๕
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องทำการศึกษา ๒๔๖
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องบำเพ็ญโยคะ ๒๔๗
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องประกอบฉันทะ ๒๔๘
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องบำเพ็ญอุสโสฬหี ๒๔๙
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องบำเพ็ญอัปปฏิวานี ๒๕๐
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องประกอบความเพียรเผากิเลส ๒๕๑
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องประกอบวิริยะ ๒๕๒
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องประกอบการทำอันติดต่อ ๒๕๓
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องอบรมสติ ๒๕๔
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ต้องอบรมสัมปชัญญะ ๒๕๕
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ยังมีหน้าที่ตอ้งบำเพ็ญความไม่ประมาท ๒๕๖
ทรงมุ่งหมายให้ปฏิจจสมุปบาทเป็นเรื่องของการปฏิบัติ ๒๕๗
การหลีกเร้น ทำให้ง่ายแก่การรู้ปฏิจจสมุปบาท ๒๕๘
ความเกิดขึ้นแห่ง รูป-เวทนา-สัญญา-สังขาร-วิญญาณ ๒๕๙
ความดับแห่ง รูป-เวทนา-สัญญา-สังขาร-วิญญาณ ๒๖๐
การคิดค้นปฏิจจสมุปบาท ก็คือการเดินตามอริยัฏฐังคิกมรรค ๒๖๒
ผลแห่งการเดินตามรอยทางเก่าโดยลำดับ ๒๖๓
ปฏิบัติเพื่อการดับปฏิจจสมุปบาท ชื่อว่าปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๒๖๖
องค์ประกอบที่เป็นบุพพภาค ของการดับแห่งปฏิจจสมุปบาท ๒๖๘
ผัสสะ คือนิทานสัมภวะส่วนมากของนิพเพธิกธรรม ๒๖๙
(๑๗)
ปฏิจจสมุปบาทแห่งการกำจัดอุปสรรคขณะเจริญสติปัฏฐาน ๒๗๘
ปฏิจจสมุปบาทเพื่อสามัญญผลในปัจจุบัน ๒๘๐
ปฏิจจสมุปบาท เป็นสิ่งที่ต้องเห็นด้วยยถาภูตสัมมัปปัญญา ๒๘๒
แม้การทำความเพียรในที่สงัด ก็ยังต้องปรารภขันธ์ห้า ๒๘๖
แม้สุขทุกข์ในภายใน ก็เกิดขึ้นเพราะปรารภขันห้า ๒๘๗
ต้นเงื่อนของปฏิจจสมุปบาท ละได้ด้วยการเห็นธรรมทั้งปวงว่าไม่ควรยึดมั่น ๒๘๙
ต้นเงื่อนแห่งปฏิจจสมุปบาท ละได้ด้วยการเห็นอนิจจัง ๒๙๑
อาการแห่งอนิจจังโดยละเอียด ๒๙๒
เคล็ดลับในการปิดกั้นทางเกิดของปฏิจจสมุปบาท ๒๙๔
วิญญาณฟุ้งไปและไม่ฟุ้งไป ในภายนอก ๒๙๖
จิตตั้งสยบอยู่ ในภายใน ๒๙๗
จิตไม่ตั้งสยบอยู่ ในภายใน ๒๙๘
เหตุแห่งความสะดุ้ง ๓๐๐
เหตุแห่งความไม่สะดุ้ง ๓๐๓
การพิจารณาปัจจัยในภายใน คือการพิจารณาปฏิจจสมุปบาท ๓๐๖
ปิยรูปสาตรูป -ที่เกิดดับแห่งตัณหา ๓๐๗
การปฏิบัติที่ทำทุกข์ให้เจริญ (พร้อมทั้งอุปมา) ๓๐๙
การปฏิบัติที่ทำให้ละทุกข์ได้ (พร้อมทั้งอุปมา) ๓๑๓
ธรรมปฏิบัติในรูปของปฏิจจสมุปบาทแห่งการละองค์สามตามลำดับ ๓๑๖
ปฏิจจสมุปบาทในรูปที่ไม่อาจจะละองค์สามตามลำดับ ๓๑๗
ปฏิจจสมุปบาทในรูปที่อาจละองค์สามตามลำดับ ๓๒๐
วิธีปฏิบัติต่ออาหารสี่ ในลักษณะที่เป็นปฏิจจสมุปบาท ๓๒๓
ก. ลักษณะอาหารสี่โดยอุปมา ๓๒๓
ข. อาการเกิดดับแห่งอาหาร (พร้อมทั้งอุปมา) ๓๒๗
(๑๘)
ปัญจุปาทานขันธ์ไม่อาจจะเกิดเมื่อรู้เท่าทันเวทนาในปฏิจจสมุปบาท ๓๓๕
การพิจารณาสภาวธรรมตามวิธีปฏิจจสมุปบาทกระทั่งวาระสุดท้าย ๓๓๗
ความฉลาดในฐานะ ๗ ประการ (แห่งขันธ์ห้า) ๓๓๗
การพิจารณาใคร่ครวญธรรมโดยวิธี ๓ ประการ ๓๔๒
อนุสัยไม่อาจะเกิด เมื่อรู้เท่าทันเวทนาในปฏิจจสมุปบาท ๓๔๓
ปฏิจจสมุปบาทสลายตัว เมื่อรู้แจ้งธรรมห้าอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน ๓๔๖
ญาณวัตถุ ๔๔ ในปฏิจจสมุปบาท เพื่อความเป็นโสดาบัน ๓๒๙
ธัมมญาณและอันวยญาณแห่งญาณวัตถุ ๔๔ ๓๕๒-๓๕๗
ญาณวัตถุ ๗๗ ในปฏิจจสมุปบาท เพื่อความเป็นโสดาบัน ๓๕๗
การรู้ปฏิจจสมุปบาท ไม่เกี่ยวกับการบรรลุอภิญญาเลยก็ได้ ๓๖๒
ปฏิจจสมุปบาทรอบสุดท้ายของคนเรา ๓๖๗
หมวดที่ ๗
ว่าด้วยโทษของการไม่รู้และอานิสงส์ของการรู้ปฏิจจฯ ๓๐ เรื่อง
จิตสัตว์ยุ่งเป็นปม เพราะไม่เห็นแจ้งปฏิจจสมุปบาท ๓๗๕
ผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทโดยอาการแห่งอริยสัจสี่ ย่อมไม่สามารถก้าวล่วงปฏิจจสมุปปันนธรรม ๓๗๘
สำหรับผู้ที่ไม่สามารถเข้าใจปฏิจจสมุปบาท ยึดถือกายเป็นตัวตนยังดีกว่ายึดถือจิตเป็นตัวตน ๓๘๑
ทิฏฐิและการหยั่งลงแห่งทิฏฐิ เนื่องมาจากการยึดซึ่งขันธ์ทั้งห้า ๓๘๓
ไม่ควบคุมรากฐานแห่งปฏิจจสมุปบาท จึงเกิดทุกข์ ๓๙๐
คนพาลกับบัณฑิต ต่างกันโดยหลักปฏิจจสมุปบาท ๓๙๑
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทโดยนัยสี่ ๓๙๓
(๑๙)
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ชรามรณะโดยนัยสี่ ๓๙๘
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ชาติโดยนัยสี่ ๓๙๙
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ภพโดยนัยสี่ ๔๐๐
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้อุปาทานโดยนัยสี่ ๔๐๑
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ตัณหาโดยนัยสี่ ๔๐๒
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้เวทนาโดยนัยสี่ ๔๐๓
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้ผัสสะโดยนัยสี่ ๔๐๔
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้สฬายนะโดยนัยสี่ ๔๐๕
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้นามรูปโดยนัยสี่ ๔๐๖
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้วิญญาณโดยนัยสี่ ๔๐๗
เป็นสมณะหรือไม่เป็นสมณะขึ้นอยู่กับการรู้หรือไม่รู้สังขารโดยนัยสี่ ๔๐๘
ควบคุมรากฐานแห่งปฏิจจสมุปบาท จึงเกิดสุข ๔๐๙
ปฏิจจสมุปบาทอาการหนึ่ง ถ้าเห็นแล้วทำให้หยุดความมั่นหมายในสิ่งทั้งปวง ๔๑๐
เครื่องกำหนดภูมิแห่งปุถุชนเกี่ยวกับธรรมเป็นที่ยึดถือถี่สิบสี่ ๔๑๐
เครื่องกำหนดภูมิแห่งเสขบุคคลเกี่ยวกับธรรมเป็นที่ยึดถือยี่สิบสี่ ๔๑๓
เครื่องกำหนดภูมิแห่งอเสขบุคคลเกี่ยวกับธรรมเป็นที่ยึดถือยี่สิบสี่ ๔๑๖
เครื่องกำหนดภูมิแห่งพระสัมมาสัมพุทธะเกี่ยวกับธรรมเป็นที่ยึดถือยี่สิบสี่ ๔๑๘
พอรู้ปฏิจจสมุปบาท ก็หายตาบอดอย่างกระทันหัน ๔๒๒
เพราะรู้ปฏิจจสมุปบาท จึงหมดความสงสัยเรื่องตัวตนทั้ง ๓ กาล ๔๒๔
การรู้เรื่องปฏิจจสมุปบาท ทำให้หมดปัญหาเกี่ยวกับขันธ์ในอดีตและอนาคต ๔๒๕
ผลอานิสงส์พิเศษ ๘ ประการ ของการเห็นปฏิจจสมุปบาท ๔๒๘
ผู้รู้ปฏิจจสมุปบาท โดยอาการแห่งอริยสัจสี่ ย่อมสามารถก้าวล่วงปฏิจจสมุปปันนธรรม ๔๓๒
อานิสงส์ ของการถึงพร้อมด้วยทัสสนทิฏฐิ ๔๓๕
(๒๐)
ผู้เสร็จกิจในปฏิจจสมุปบาท ชื่อว่าผู้บรรลุนิพพานในปัจจุบัน ๔๔๑
อานิสงส์สูงสุด (อนุปาทิเสสนิพพาน) ของการพิจารณาปฏิจจสมุปบาท อย่างถูกวิธี ๔๔๔
การดับเย็นแห่งเวทนา (อนุปาทิเสสนิพพาน) มีได้ในอัตตภาพนี้ (พร้อมทั้งอุปมา) ๔๔๘
อุปะปริกขีในปฏิจจสมุปบาท เป็นอุดมบุรุษ ๔๕๑
บัณฑิต คือผู้ฉลาดในปฏิจจสมุปบาท ๔๕๒
หมวดที่ ๘
ว่าด้วยปฏิจจฯ เกี่ยวกับความเป็นพระพุทธเจ้า ๘ เรื่อง
ทรงเดินตามรอยพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ ๔๖๑
นครแห่งปฏิจจสมุปบาท ฝ่ายสมุทยวาร ๔๖๒
นครแห่งปฏิจจสมุปบาท ฝ่ายนิโรธวาร ๔๖๔
อุปมาแห่งการพบรอยหนทางและนครเก่า ๔๖๖
การคิดค้นปฏิจจสมุปบาท ก่อนการตรัสรู้ ๔๖๙
การคิดค้นปฏิจจสมุปบาท ของพระพุทธเจ้าในอดีต ๖ พระองค์ ๔๗๔
ทรงบันลือสีหนาท เพราะทรงรู้ปัจจัยแห่งความเกิดและความดับ ๔๗๙
ทรงพยากรณ์แต่อริยญายธรรมเท่านั้น ๔๘๑
ทรงชักชวนวิงวอนเหลือประมาณ ในความเพียรเพื่อกิจเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท ๔๘๕
ทรงแสดงธรรมเนื่องด้วยปฏิจจสมุปบาท มีความงามเบื้องต้น-ท่ามกลาง-เบื้องปลาย ๔๘๘
แสดงธรรมมีความงามเบื้องต้น ๔๘๙
แสดงธรรมมีความงามท่ามกลาง ๔๙๑
d02902
(๒๑)
แสดงธรรมมีความงามเบื้องปลาย ๔๙๒
ศาสดาและสาวก ย่อมมีการกล่าวตรงกันในเรื่องปฏิจจสมุปบาท ๔๙๒
การกล่าวตรงกันด้วยเรื่องอิทัปปัจจยตา ฝ่ายเกิด ๔๙๔
การกล่าวตรงกันด้วยเรื่องอิทัปปัจจยตา ฝ่ายดับ ๔๙๗
หมวดที่ ๙
ว่าด้วยปฏิจจฯ กับอริยสาวก ๑๐ เรื่อง
ทรงกำชับสาวกให้เล่าเรียนปฏิจจสมุปบาท ๕๐๓
ไม่รู้เรื่องรากฐานแห่งปฏิจจสมุปบาท ก็ยังไม่ใช่สาวกในศาสนานี้ ๕๐๙
อริยสาวก ย่อมรู้ปฏิจจสมุปบาทโดยไม่ต้องเชื่อผู้อื่น ๕๑๐
อริยญายธรรม คือการรู้เรื่องปฏิจจสมุปบาท ๕๑๒
การสนทนาของพระมหาสาวก ๕๑๔
ปุจฉาวิสัชนาระหว่างพระสารีบุตรกับพระมหาโกฏฐิตะในแง่ลึกของปฏิจจสมุปบาท ๕๑๔-๕๑๙
วัตถุ ๓๖ สำหรับการอนุโมทนาในการวิสัชนาปฏิจจฯ อย่างลึกซึ้ง ๕๒๐
เวทนาของปุถุชน ต่างจากของอริยสาวก ๕๒๖
การเสวยเวทนาของปุถุชน (พร้อมทั้งอุปมา) ๕๒๗
การเสวยเวทนาของอริยสาวก (พร้อมทั้งอุปมา) ๕๒๘
อริยสาวก รู้ความเกิดและความดับของโลกอย่างไม่มีที่สงสัย ๕๓๐
พระโสดาบัน คือผู้เห็นชัดปฏิจจสมุปบาทโดยวิธีแห่งอริยสัจสี่ ๕๓๒
ไวพจน์ ๙ อย่างของผู้เห็นปฏิจจฯ โดยนัยอริยสัจสี่ ๕๓๗
โสตาปัตติยังคะ ขึ้นอยู่กับการรู้ปฏิจจสมุปบาทของอริยสาวก ๕๓๘
โสดาบันสงบระงับจากภยเวร ๕ ประการ ๕๓๘
โสดาบันประกอบด้วยโสดาปัตติยังคะ ๕๓๙
โสดาบันทำในใจโดยแยบคายซึ่งอิทัปปัจจยตา ๕๔๑
สามัญญผลในพุทธศาสนา เทียบกันไม่ได้กับในลัทธิอื่น ๕๔๒
(๒๒)
หมวดที่ ๑๐
ว่าด้วยปฏิจจฯ นานาแบบ ๓๗ เรื่อง
ปฏิจจสมุปบาท ที่ซ้อนอยู่ในปฏิจจสมุปบาท ๕๔๙
ปฏิจจสมุปบาท แบบที่ตรัสโดยพระพุทธเจ้าวิปัสสี ๕๕๙
ปฏิจจสมุปบาท แบบที่ตรัสเหมือนแบบของพระพุทธเจ้าวิปัสสี ๕๖๔
ปฏิจจสมุปบาท แบบที่ตั้งต้นด้วยอารัมมณเจตนา-ปกัปปน-อนุสยะ ๕๖๙
ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัสอย่างย่อที่สุด ๕๗๒
ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัสอย่างสั้นที่สุด ๕๗๓
ปฏิจจสมุปบาท แห่งอาหารสี่ ๕๗๕
ปฏิจจสมุปบาท แห่งอาหารสี่ เพื่อภูตสัตว์และสัมภเวสีสัตว์ ๕๗๗
ปฏิจจสมุปบาท แห่งอภัททกาลกิริยา ๕๗๙
ปฏิจจสมุปบาท แห่งทุพพลภาวะของมนุษย์ ๕๘๐
ปฏิจจสมุปบาท แห่งมิคสัญญีสัตถันตรกัปป์ ๕๘๑
ปฏิจจสมุปบาท แห่งอารัมมณลาภนานัตตะ ๕๘๕
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการปฏิบัติผิดโดยไตรทวาร ๕๘๗
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการปฏิบัติชอบโดยไตรทวาร ๕๘๘
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการรบราฆ่าฟันกัน ๕๘๙
ปฏิจจสมุปบาท แห่งกลหวิวาทนิโรธ ๕๙๕
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการอยู่อย่างมี "เพื่อนสอง" ๕๙๗
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการอยู่อย่าง "คนเดียว" ๕๙๘
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการอยู่ด้วยความประมาท ๖๐๐
ปฏิจจสมุปบาท แห่งปปัญจสัญญาสังขาสมุทาจรณะ ๖๐๑
ปฏิจจสมุปบาท แห่งปปัญจสัญญาอันทำความเนิ่นช้าแก่การละอนุสัย ๖๐๔
คำขยายความของพระสารีบุตร ทั้งโดยอนุปักขนัยและปฏิปักขนัย ๖๐๖
(๒๓)
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการดับปปัญจสัญญาสังขา ๖๑๒
ปฏิจจสมุปบาท ที่ยิ่งกว่าปฏิจจสมุปบาท ๖๑๕
ปฏิจจสมุปบาท แห่งอาหารของอวิชชา ๖๒๒
ปฏิจจสมุปบาท แห่งอาหารของภวตัณหา ๖๒๖
ปฏิจจสมุปบาท แห่งอาหารของวิชชาและวิมุตติ ๖๒๘
ปฏิจจสมุปบาท แห่งวิชชาและวิมุตติ ๖๓๑
ปฏิจจสมุปบาท แห่งปฏิสรณาการ ๖๓๕
ปฏิจจสมุปบาท แห่งสัจจานุโพธและผลถัดไป ๖๓๖
สัจจานุโพธ มีลอำดับแห่งปัจจยาการสิบสอง ๖๓๗
สัจจานุปัตติ มีธรรมเป็นอุปการะแก่กันและกันโดยลำดับสิบสอง ๖๓๘
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการอยู่ด้วยความประมาทของอริยสาวก ๖๔๔
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการขาดที่อิงอาศัยสำหรับวิมุตติญาณทัสสนะ ๖๔๖
ปฏิจจสมุปบาท เพื่อความสมบูรณ์แห่งอรหัตตผล ๖๔๙
ปฏิจจสมุปบาท แห่งบรมสัจจะ ๖๕๑
ปฏิจจสมุปบาท แห่งสุวิมุตตจิต ๖๕๓
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการปรินิพพานเฉพาะตน ๖๕๔
ปฏิจจสมุปบาท แห่งการดับอุปาทานสี่ ๖๕๖
ปฏิจจสมุปบาท แห่งความสิ้นสุดของโลก ๖๕๘
หมวดที่ ๑๑
ว่าด้วยลัทธิหรือทิฏฐิที่ขัดกับปฏิจจฯ ๑๔ เรื่อง
สัมมาทิฏฐิ คือทิฏฐิที่ปราศจากอัตถิตาและนัตถิตา ๖๖๕
ปฏิจจสมุปบาท มีหลักว่า "ไม่มีตนเอง ไม่มีผู้อื่น ที่ก่อทุกข์" ๖๖๗
(๒๔)
แม้ทุกข์ในลัทธิทั้งหลายอื่น ก็มีผัสสะเป็นจุดตั้งต้น ๖๗๐
พวกกรรมวาทีทุกพวก กับหลักปฏิจจสมุปบาท ๖๗๒
ปฏิภาณของพระอานนท์สนองพระพุทธดำรัส ๖๗๕
เงื่อนงำที่อาจนำไปสู่สัสสตทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิในอาการหนึ่ง ๆ ของปฏิจจสมุปบาท ๖๗๖
เงื่อนงำเหล่านั้นหมดสิ้นไปเพราะความดับแห่งอวิชชา ๖๘๕
โลกายตะ ๔ ชนิด ที่ทรงปฏิเสธ ๖๘๘
ทิฏฐิชั้นหัวหน้า ๑๘ อย่าง ล้วนแต่ปรารภธรรมที่เป็นฐานะ ๖ อย่าง ๖๙๐
พวกที่มิใช่อันตคาหิกทิฏฐิ ๘ อย่าง ๖๙๐-๖๙๘
พวกที่เรียกว่าอันตคาหิกทิฏฐิ ๑๐ อย่าง ๖๙๘-๗๐๒
ทิฏฐิ ๒๖ อย่าง ล้วนแต่ปรารภขันธ์ห้า ๗๐๔
พวกที่ไม่ใช่อันตคาหิกทิฏฐิ ๘ อย่าง ๗๐๔-๗๑๐
พวกที่เรียกว่าอันตคาหิกทิฏฐิ ๑๐ อย่าง ๗๑๐-๗๑๓
พวกปรารภรูปและอรูป ๔ อย่าง ๗๑๓-๗๑๔
พวกปรารภสุขและทุกข์ ๔ อย่าง ๗๑๔-๗๑๕
อันตคาหิกทิฏฐิสิบ ๒,๒๐๐ นัย ล้วนแต่เป็นไปในขันธ์ห้า ล้วนแต่ปิดบังการเห็นปฏิจจสมุปบาท ๗๑๗
ผัสสะ คือปัจจัยแห่งทิฏฐิ ๖๒ ๗๑๙
ทิฏฐิ ๖๒ เป็นเพียงความรู้สึกผิด ๆ ของผู้ไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ๗๒๓
ผัสสะ คือที่มาของทิฏฐิ ๖๒ ๗๒๗
ทิฏฐิ ๖๒ เป็นผลของการไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท ๗๓๒
หมวด ๑ : ปุพพันตกัปปิกวาท ๑๘ ประการ ๗๓๒-๗๔๙
ก. สัสสตทิฏฐิ ๔ ประการ ๗๓๓-๗๓๕
ข. เอกัจจสัสสติก-เอกัจจอสัสสติกทิฏฐิ ๔ ประการ ๗๓๖-๗๓๙
(๒๕)
ค. อันตานันติกทิฏฐิ ๔ ประการ ๗๔๐-๗๔๒
ฆ. อมราวิกเขปิกทิฏฐิ ๔ ประการ ๗๔๓-๗๔๖
ง. อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ ๒ ประการ ๗๔๗-๗๔๘
สรุปปุพพันตกัปปิกทิฏฐิ ๑๘ ประการ ๗๔๙
หมวด ๒ : อปรันตกัปปิกวาท ๔๔ ประการ ๗๕๐-๗๖๗
จ. อุทธมาฆตนิก-สัญญีทิฏฐิ ๑๖ ประการ ๗๕๐-๗๕๔
ฉ. อุทธมาฆตนิก-อสัญญีทิฏฐิ ๘ ประการ ๗๕๔-๗๕๖
ช. อุทธมาฆตนิก-เนวนัญญีนาสัญญีทิฏฐิ ๘ ประการ ๗๕๖-๗๕๘
ฌ. อุจเฉททิฏฐิ ๗ ประการ ๗๕๘-๗๖๓
ญ. ทิฏฐธัมมนิพพานทิฏฐิ ๕ ประการ ๗๖๓-๗๖๖
สรุปอปรันตกัปปิกทิฏฐิ ๔๔ ประการ ๗๖๖-๗๖๗
สรุปทิฏฐิทั้งหมด ๖๒ ประการ ๗๖๗
ถ้ารู้ปฏิจจสมุปบาท ก็จะไม่เกิดทิฏฐิอย่างพวกตาบอดคลำช้าง ๗๖๙
หมวดที่ ๑๒
ว่าด้วยปฏิจจฯ ที่ส่อไปในทางภาษาคน -เพื่อศีลธรรม ๒ เรื่อง
ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาท อย่างประหลาด ๗๗๙
เรื่องปฏิจจฯ ธรรมดาอย่างปฏิโลมขึ้นมาจากชรามรณะถึงตัณหา ๗๗๙-๗๘๒
(แทรกพิเศษ) ชนิดของสิ่งที่เรียกว่าชาติหลายรูปแบบ ๗๗๙
ทรงแทรกปฏิจจฯ แห่งการหวงกั้น-ทะเลาะวิวาท ๗๘๒-๗๘๖
ตรัสปฏิจจฯ ธรรมดา ต่อจากตัณหาขึ้นมาถึงวิญญาณ ๗๘๗-๗๙๐
(๒๖)
ปกิณณกะ : การบัญญัติหมู่แห่งนามอาศัยอาการลิงค์นิมิตอุเทศเนื่องด้วยอธิวจนสัมผัส ๗๘๘
การบัญญัติหมู่แห่งรูปอาศัยอาการลิงค์นิมิตอุเทศเนื่องด้วยปฏิฆะสัมผัส ๗๘๘
การบัญญัติหมู่แห่งนามและรูปอาศัยอาการลิงค์นิมิตอุเทศเนื่องด้วย
สัมผัสทั้งสอง ๗๘๘
อธิวจน-นิรุตฺติ-ปญฺญตฺติ-ปญฺญาวจร-วฏฺฏแห่งสัตว์โลก ๗๙๐
ธาตุ ๓ อย่าง เป็นที่ตั้งแห่งความเป็นไปได้ของปฏิจจสมุปบาท ๗๙๐
ข้อความซึ่งมีหลักธรรมทำนองเดียวกับอีกสูตรหนึ่ง ๗๙๒
บทสรุป
ว่าด้วยคุณค่าพิเศษของปฏิจจฯ ๕ เรื่อง
ปฏิจจสมุปบาท คือเรื่องความไม่มีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขา ๗๙๙
ที่สุดแห่งปฏิจจสมุปบาท คือที่สุดแห่งภพ ๘๐๒
ธรรมไหลไปสู่ธรรมโดยไม่ต้องมีใครเจตนา ๘๐๕
แม้พระพุทธองค์ก็ทรงสาธยายปฏิจจสมุปบาท ๘๐๗
เรื่องปฏิจจสมุปบาทรวมอยู่ในเรื่องที่พุทธบริษัทควรทำสังคีติ ๘๑๑
ปทานุกรม เริ่มแต่หน้า ๘๑๕
ลำดับหมวดธรรม เริ่มแต่หน้า ๘๘๑
สินค้าที่ดูล่าสุด
- ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์-ช... ราคา 500.00 ฿
สินค้าและบริการที่เกี่ยวข้อง
-
ชุด-อริยสัจจากพระโอษฐ์-ภาคต้น-ภาคปลาย-700บาท
รหัส : thamma1 ราคา : 700.00 ฿ อัพเดท : 25/04/2011 ผู้เข้าชม : 12,085 -
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ ชุดธรรมโฆษณ์ของหลวงพ่อพุทธทาส
รหัส : 1แถบน้ำตาล ราคา : 350.00 ฿ อัพเดท : 13/11/2024 ผู้เข้าชม : 9,399ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์-ชุดจากพระโอษฐ์
รหัส : 4แถบน้ำตาล ราคา : 500.00 ฿ อัพเดท : 23/05/2011 ผู้เข้าชม : 15,512 -
หนังสือชุดธรรมโฆษณ์จากพระโอษฐ์-1850บาท
รหัส : ชุดธรรมโฆษณ์จากพระโอษฐ์-1850บาท ราคา : 1,850.00 ฿ อัพเดท : 10/06/2023 ผู้เข้าชม : 2,688